dc.contributor.advisor |
ชูพงศ์ ปัญจมะวัต |
|
dc.contributor.author |
ณัฐพล เชียรเตชากุล |
|
dc.contributor.author |
มณีพร จาระพิสิษฐ์ |
|
dc.contributor.author |
มายเดียร์ รุจิรยศ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2015-07-29T01:49:01Z |
|
dc.date.available |
2015-07-29T01:49:01Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.other |
Psy 211 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44176 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการแต่งกลอนสด กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีอายุ 18 - 22 ปี รวมทั้งสิ้น 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน โดยกลุ่มทดลองจะได้รับแบบฝึกทักษะการแต่งกลอนสดชนิดกลอนแปด ซึ่งประกอบไปด้วย แบบฝึกหัดคำคล้องจองและแบบฝึกการแต่งกลอน ส่วนในกลุ่มควบคุมจะได้รับความรู้เรื่องการแต่งกลอนสดชนิดกลอนแปด กลุ่มตัวอย่างจะได้รับการประเมินความคิดสร้างสรรค์ด้านการคิดคล่องทางด้านภาษา ทั้งในระยะก่อนและหลังการทดลองแล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทดสอบค่าที Pair sample t-test และ independent sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ในช่วงหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านการคิดคล่องสูงกว่าก่อนได้รับการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ในช่วงหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านการคิดคล่องสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ในช่วงหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านความคล่องแคล่วในการเชื่อมโยงสูงกว่าก่อนได้รับการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ในช่วงหลังการทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ด้านความคล่องแคล่วในการเชื่อมโยงไม่แตกต่างกัน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to study the creativity enhancement by using poem improvisation. Subjects were 60 Chulalongkorn University students. They were assigned into 2 sample groups: Experimental group and Control group. The experimental group received poem improvisation treatments which include rhyming Words and improvisation of poem worksheet, while subjects in the control group received only a hand-out of how to write poem improvisation. All subjects were tested by before and after treatment. The data was analyzed by Pair sample t-test and independent sample t-test Results are as follows: 1. After the treatment, the experimental group average score for fluency higher than before the treatment at .05 level of significance. 2. After the treatment, the average score for fluency of experimental group is higher than the control group at .01 level of significance. 3. After the treatment, the experimental group average score for divergent thinking in terms of relation higher than before the treatment at .05 level of significance. 4. After the treatment, there is no difference in the average score for divergent thinking in terms of relation between experimental group and the control group. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความคิดสร้างสรรค์ |
en_US |
dc.subject |
ความคิดสร้างสรรค์เชิงภาษาศาสตร์ |
en_US |
dc.subject |
ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา |
en_US |
dc.subject |
กลอน |
en_US |
dc.subject |
กวีนิพนธ์ไทย |
en_US |
dc.subject |
Creative thinking |
en_US |
dc.subject |
Creativity (Linguistics) |
en_US |
dc.subject |
Psycholinguistics |
en_US |
dc.subject |
Thai poetry |
en_US |
dc.title |
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการแต่งกลอนสด |
en_US |
dc.title.alternative |
Creativity enhancement by using poem improvisation |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|