DSpace Repository

อิทธิพลของเป้าหมายการให้ของขวัญ ต่อการเลือกซื้อสินค้าโชคลาง โดยมีความนับถือโชคลาง การอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน และรูปแบบการประมวลข้อมูลเป็นตัวแปรกำกับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช en_US
dc.contributor.author วาริธร อุดมเวช en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2015-08-21T09:29:31Z
dc.date.available 2015-08-21T09:29:31Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44515
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของเป้าหมายการให้ของขวัญ ต่อการเลือกซื้อสินค้าโชคลาง โดยมีความนับถือโชคลาง การอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน และรูปแบบการประมวลข้อมูล เป็นตัวแปรกำกับ ซึ่งเป้าหมายการให้ของขวัญในที่นี้ ประกอบไปด้วย 2 เงื่อนไข ได้แก่ การให้ของขวัญผู้อื่น และ การให้ของขวัญตนเอง ซึ่งผู้วิจัยได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 185 คน เข้าสู่เงื่อนไขการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น เงื่อนไขการให้ของขวัญผู้อื่น จำนวน 94 คน และ เงื่อนไขการให้ของคนตนเอง จำนวน 91 คน โดยผู้เข้าร่วมการวิจัยแต่ละคนจะได้รับแบบสอบถามทางบุคลิกภาพและแบบสอบถามการตัดสินใจเลือกสินค้าโชคลางเพื่อเป็นของขวัญ จากนั้นผู้วิจัยเลือกใช้การวิเคราะห์ถดถอยแบบมีตัวแปรกำกับมาเป็นเครื่องมือในการทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยโปรแกรม PROCESS (Hayes, 2013) ซึ่งผลการวิจัยไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายของการให้ของขวัญและตัวแปรบุคลิกภาพประเภทต่างๆ ในการส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าโชคลาง อย่างไรก็ตาม พบว่า สถานการณ์การให้ของขวัญผู้อื่น ผู้เข้าร่วมการวิจัยจะเลือกใช้ความเชื่อถือโชคลางในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้ามากขึ้น en_US
dc.description.abstractalternative This research has an objective to study about the influences of gift-giving targets on gift-purchasing decision with the moderating effects of relying on superstition levels, internal locus of control, and rational-experiential processing systems. The gift-giving targets in this study were divided into two conditions, the other gift-giving condition and self gift-giving condition. There were 185 participants in the study, 94 people who participated in the other gift-giving condition and 91 people for the self gift-giving condition. In this study, all participants received the two packs of questionnaires. The first pack consisted of the three personality scales and the second pack consisted of the gift purchasing - decision questionnaire with six advertises. After the collecting data process, the researcher used the PROCESS statistical software (Hayes, 2013) for clarifying the research's hypotheses. The results show that no significant interactions between the gift-giving targets and the personality variables. However, the participants would apply more superstition for gift-purchasing decision in the other gift-giving condition. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.535
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พฤติกรรมผู้บริโภค th
dc.subject โชคลาง th
dc.subject แนวคิดอำนาจควบคุมตน th
dc.subject ผู้บริโภค th
dc.subject Consumer behavior en_US
dc.subject Superstition en_US
dc.subject Locus of control en_US
dc.subject Consumers en_US
dc.title อิทธิพลของเป้าหมายการให้ของขวัญ ต่อการเลือกซื้อสินค้าโชคลาง โดยมีความนับถือโชคลาง การอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน และรูปแบบการประมวลข้อมูลเป็นตัวแปรกำกับ en_US
dc.title.alternative INFLUENCES OF GIFT-GIVING TARGETS ON SUPERSTITIOUS BELIEFS IN GIFT-PURCHASING DECISION: THE MODERATING EFFECTS OF RELYING ON SUPERSTITION LEVELS, INTERNAL LOCUS OF CONTROL AND RATIONAL-EXPERIENTIAL PROCESSING SYSTEM en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Apitchaya.C@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.535


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record