DSpace Repository

ปัญหาการแสดงเจตนาเพื่อยกเว้นความรับผิดตามข้อสันนิษฐานของกฎหมาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์
dc.contributor.author กรวิกา ขวัญเมือง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2015-09-08T07:29:00Z
dc.date.available 2015-09-08T07:29:00Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45091
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract ข้อสันนิษฐานความรับผิดตามกฎหมายในทางแพ่งมีทั้งที่เป็นส่วนของข้อสันนิษฐานความรับผิดในกฎหมายสัญญาและในส่วนของข้อสันนิษฐานความรับผิดทางละเมิด ซึ่งล้วนแต่เป็นบทบัญญัติของกฎหมายที่กำหนดความรับผิดให้แก่บุคคลบางประเภทโดยที่กฎหมายมิได้สนใจถึงความผิดของบุคคลเหล่านั้นว่าได้กระทำการโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อแต่ประการใด จึงมีปัญหาทางกฎหมายว่าบุคคลต่างๆ เหล่านี้จะแสดงเจตนาล่วงหน้าเพื่อยกเว้นความรับผิดตามข้อสันนิษฐานของกฎหมายได้หรือไม่ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนมุ่งศึกษาถึงความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ แนวความคิดเบื้องหลังของบทบัญญัติของกฎหมายที่เป็นข้อสันนิษฐานความรับผิดของบุคคล และปัญหาการควบคุมการแสดงเจตนายกเว้นความรับผิดตามข้อสันนิษฐานของกฎหมายของประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พบว่า บทบัญญัติว่าด้วยข้อสันนิษฐานความรับผิดตามกฎหมายมีความเป็นมาและแนวความคิดเบื้องหลังในอันที่จะคุ้มครองผู้เสียหายให้ได้รับการเยียวยาตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายในเรื่องนั้นๆ อันเป็นเสมือนข้อบังคับของสังคมให้บุคคลที่กฎหมาย en_US
dc.description.abstractalternative The presumptions of liability in the private law are included the presumption of liability in the law of contract and also the law of tort which are the provisions imposed the liability to some kind of persons without considering their fault, intention or negligence. Therefore, the legal problems arise that whether those persons can declare their intention to exempt the liability which is presumed by law. In this thesis, the author aims to study the presumption of civil liability in every aspect such as the historical background, the theory of the law of presumption of liability and comparison with the other countries in the approaches of controlling the expression en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1254
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความรับผิด (กฎหมาย) en_US
dc.subject กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- ละเมิด en_US
dc.subject ความรับผิดฐานละเมิดโดยเด็ดขาด en_US
dc.subject พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 en_US
dc.subject เจตนา (กฎหมาย) en_US
dc.subject Liability (Law) en_US
dc.subject Strict liability en_US
dc.subject Declaration of intention en_US
dc.title ปัญหาการแสดงเจตนาเพื่อยกเว้นความรับผิดตามข้อสันนิษฐานของกฎหมาย en_US
dc.title.alternative Problems on expression to exempt the liability by the presumption of law en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Sanunkorn.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1254


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record