DSpace Repository

การพยากรณ์อัตรามรณะไทยด้วยตัวแบบโลจิสติกส์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุวาณี สุรเสียงสังข์
dc.contributor.author จักรกฤษณ์ ศรีทองดี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2015-09-10T08:40:04Z
dc.date.available 2015-09-10T08:40:04Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45153
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการพยากรณ์ค่าอัตรามรณะของประชากรไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า โดยใช้วิธีการพยากรณ์อัตรามรณะ คือ การพยากรณ์อัตรามรณะด้วยตัวแบบของลี-คาร์เตอร์ (Lee-Carter Model) และการพยากรณ์อัตรามรณะด้วยตัวแบบความถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Model) โดยอาศัยข้อมูลจำนวนประชากรปลายปีจากกระทรวงมหาดไทย และจำนวนประชากรที่ตายจากกระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2552 จำแนกตามเพศและอายุ พร้อมทั้งทำการเปรียบเทียบค่าประมาณอัตรามรณะของตัวแบบต่างๆ เพื่อหาตัวแบบที่มีความเหมาะสมที่สุด ด้วยค่าร้อยละค่าสัมบูรณ์ของความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย (Mean Absolute Percent Error) นอกจากนี้ได้พยายามหาความสัมพันธ์ของอัตรามรณะจากการพยากรณ์ กับอัตรามรณะของผู้เอาประกันภัยจากตารางมรณะไทยด้วยค่าขนาดของการปรับอัตรามรณะ (Mortality Improvement Scales) ผลการวิจัยพบว่า ค่าพยากรณ์อัตรามรณะในอีก 20 ปีข้างหน้าของทุกตัวแบบทั้งเพศชายและเพศหญิงมีลักษณะทิศทางเดียวกัน คือมีแนวโน้มลดลงเมื่อระยะเวลาผ่านไป และค่าพยากรณ์อัตรามรณะของเพศชายมีค่าสูงกว่าเพศหญิงเล็กน้อย เมื่อเปรียบเทียบค่า MAPE พบว่าตัวแบบของลี-คาร์เตอร์ มีค่า MAPE ต่ำที่สุดทั้งเพศชายและเพศหญิง นอกจากนี้ยังพบว่าค่าอัตรามรณะของผู้เอาประกันภัยที่มาจากขนาดของการปรับอัตรามรณะจะมีแนวโน้มลดลงเมื่อระยะเวลาผ่านไป en_US
dc.description.abstractalternative This research aims to forecast the mortality rate of Thai population in the next 20 years by using forecasting methods: Lee-Carter Model and Logistic Regression Model. Data used in the study are the number of population and the number of death by age and sex of year 1999 - 2009 from the Ministry of Interior and the Ministry of Public Health respectively. In addition to comparing the estimated mortality rates from all methods to find the model that is most appropriate using mean absolute percentage error (MAPE). Moreover, this research attempts to finds the relationship between the predicted mortality rates and the mortality rates of insured lives in Thai Mortality Table (TMO) with mortality improvement scales. The results show that all models have the predicted mortality rates for the next 20 years in the same direction and trend to decrease over time for both males and females. The predicted mortality rates of males are slightly higher than those of females. The comparison of the estimated mortality rates showed that the Lee-Carter model provides the most minimum MAPE for both males and females. Moreover, it reveals that the mortality rates for insured lives of mortality improvement scales have a decrease trend over time. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การตาย en_US
dc.subject ประกันภัย en_US
dc.subject Mortality en_US
dc.subject Insurance en_US
dc.title การพยากรณ์อัตรามรณะไทยด้วยตัวแบบโลจิสติกส์ en_US
dc.title.alternative Thai mortality projection using logistic model en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การประกันภัย en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor fcomssr@acc.chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record