DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบเงินสำรองค่าสินไหมทดแทนโดยวิธีบันไดลูกโซ่และการปรับเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนา

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุวาณี สุรเสียงสังข์
dc.contributor.author ณัฐพงษ์ ปู่ทอง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2015-09-12T03:19:20Z
dc.date.available 2015-09-12T03:19:20Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45240
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบตัวแบบความเสียหายในกรอบของคณิตศาสตร์ประกันภัยระหว่างตัวแบบบันไดลูกโซ่ (วิธีดั้งเดิม) กับการปรับเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนา โดยการเปรียบเทียบค่าคาดหวังของเงินสำรอง ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเงินสำรอง และสัมประสิทธิ์ความแปรผันจากแต่ละตัวแบบในสถานการณ์จำลองแบบต่างๆ ผลการวิจัยพบว่าตัวแบบบันไดลูกโซ่ยังคงใช้ได้ดีในสถานการณ์ส่วนใหญ่ เพราะมีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันของเงินสำรองต่ำกว่าการปรับเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนา จึงควรใช้ตัวแบบบันไดลูกโซ่เป็นตัวแบบหลักในการคำนวณเงินสำรอง แต่ในสถานการณ์ที่ข้อมูลมีลักษณะเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนาเป็นรูปเส้นโค้งคว่ำ หรือเส้นโค้งรูปตัว S พร้อมกับค่าล็อกปัจจัยความเสียหายพัฒนามีความแปรปรวนในแต่ละคอลัมน์สูง และขนาดข้อมูลมีขนาดเล็ก ควรเลือกใช้การปรับเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนาด้วยฟังก์ชันสะสมไวบูล เพราะค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันของเงินสำรองจะต่ำกว่าตัวแบบบันไดลูกโซ่ en_US
dc.description.abstractalternative The aim of this research is to compare loss modeling in actuarial framework between Chain-Ladder model (the classical method), and LDF Curve Fitting by comparing expected reserve, standard deviation of reserve and coefficient of variation (CV) of reserve from each models in various simulated scenarios. The results show that the Chain-Ladder model still works well in most scenarios because its coefficient of variation is lower than LDF Curve Fitting. Chain-Ladder model should be the main method in calculation of the reserve. However, in situations where the data has the loss development factor curve (LDF curve) resembles concave curve or S-shaped with the logarithm of loss development factors in each column are high and sample size is small, the Weibull LDF Curve Fitting should be used because the coefficient of variation of the reserve is lower than the Chain-Ladder model. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1297
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ค่าสินไหมทดแทน en_US
dc.subject การปรับเส้นโค้ง en_US
dc.subject Indemnity en_US
dc.subject Curve fitting en_US
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบเงินสำรองค่าสินไหมทดแทนโดยวิธีบันไดลูกโซ่และการปรับเส้นโค้งปัจจัยความเสียหายพัฒนา en_US
dc.title.alternative Comparative study of loss reserves using chain-ladder method and loss development factors curve fitting en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การประกันภัย en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor fcomssr@acc.chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1297


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record