DSpace Repository

ผลของกลุ่มตามแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมต่อการฟังอย่างตั้งใจและความเมตตากรุณาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ en_US
dc.contributor.author สุทธิดา จันทร์กลัด en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2015-09-19T03:39:18Z
dc.date.available 2015-09-19T03:39:18Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46444
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของกลุ่มแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมที่มีต่อการฟังอย่างตั้งใจและความเมตตากรุณาในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นชั้นปีที่ 1-3 ระเบียบวิธีวิจัยคือการวิจัยกึ่งทดลองแบบมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลองกับกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นชั้นปีที่ 1-3 ซึ่งมีคะแนนการฟังอย่างตั้งใจหรือคะแนนเมตตากรุณาเข้าเกณฑ์จำนวนทั้งหมด 43 คน ถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 24 คน และกลุ่มควบคุม 24 คน (ซึ่งมีกลุ่มทดลองถอนตัวระหว่างการทดลอง 5 คน คงเหลือ 19 คน) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้คือสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุนามแบบเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มและวัดซ้ำ ผลการวิจัยในครั้งนี้พบว่า คะแนนการฟังอย่างตั้งใจและคะแนนความเมตตากรุณาของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างนัยสำคัญทางสถิติของคะแนนการฟังอย่างตั้งใจและคะแนนความเมตตากรุณาของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม en_US
dc.description.abstractalternative This aim of this research study was to examine the effectiveness of a Cognitive Behavioral Therapy group program on active listening skills and compassion among junior high school students. The study employed a quasi-experimental research design with pre-posttest treatment-control groups. Forty-three students whose scores in active listening or compassion met the selection criteria participated in the study and were randomly assigned into the treatment and control groups, 24 participants for each group (5 participants from the treatment group dropped out, leading to 19 participants in this group). Between-group and repeated- measure MANOVAs were used to analyze the data. Findings demonstrated that there were statistically differences between treatment and control groups on active listening and compassion scores (p < .001). However, when compared with those of the control groups, the active listening and compassion scores of the treatment groups were not significantly different. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1233
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วัยรุ่น
dc.subject การฟัง
dc.subject เมตตาและกรุณา
dc.subject การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
dc.subject จิตวิทยาการปรึกษา
dc.subject Adolescence
dc.subject Listening
dc.subject Compassion -- Religious aspects -- Buddhism
dc.subject Group counseling
dc.subject Counseling psychology
dc.title ผลของกลุ่มตามแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมต่อการฟังอย่างตั้งใจและความเมตตากรุณาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น en_US
dc.title.alternative EFFECTS OF COGNITIVE BEHAVIORAL GROUP THERAPY ON ACTIVE LISTENING AND COMPASSION AMONG JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Kullaya.D@Chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1233


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record