dc.contributor.advisor |
ณัฐสุดา เต้พันธ์ |
|
dc.contributor.author |
นียาซคาน ข่านเคน |
|
dc.contributor.author |
ยุทธศาสตร์ จ้อยสอดดง |
|
dc.contributor.author |
เอสรา อุษณกรกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2015-10-02T03:58:03Z |
|
dc.date.available |
2015-10-02T03:58:03Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.other |
Psy 220 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46807 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง การเผชิญปัญหากับการเปิดเผยตนเองบนเฟซบุ๊ก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ มาตรวัดบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง (α= .95) มาตรวัดการเผชิญปัญหา (α= .86) และมาตรวัดการเปิดเผยตนเองบนเฟซบุ๊ก (α= .77) ผลการวิจัยพบว่า บุคลิกภาพแบบหลงตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเปิดเผยตนเองบนเฟซบุ๊ก (r = .33, p < .01, หนึ่งหาง) และความผูกพันกับการเผชิญปัญหาบางรูปแบบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเปิดเผยตนเองบนเฟซบุ๊ก ได้แก่ การเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา (r = .23, p < .01, หนึ่งหาง) การเผชิญปัญหาแบบจมดิ่งกับอารมณ์ (r = .11, p < .05, หนึ่งหาง) และการเผชิญปัญหาแบบตั้งสติจัดการกับปัญหา (r = .18, p < .01, หนึ่งหาง) นอกจากนี้บุคลิกภาพแบบหลงตนเองและการเผชิญปัญหาสามารถทำนายการเปิดเผยตนเองบนเฟซบุ๊กได้ โดยมีแค่บางองค์ประกอบของการเปิดเผชิญปัญหาที่สามารถร่วมทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นั่นก็คือการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา โดยค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน (standard regression coefficient) ของบุคลิกภาพแบบหลงตนเองมีค่าเท่ากับ 0.37 (β = .37, p < .001, หนึ่งหาง) และการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา มีค่าเท่ากับ 0.35 (β = .35, p < .001, หนึ่งหาง) |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The aim of this research was to study the relationships between narcissism, coping style, and self-disclosure on Facebook. Data were collected from 300 undergraduate student, r.esearch instruments were narcissism scale (α= .95), a coping style scale (α= .86) and a self-disclosure on Facebook scale (α= .77) Results show positive correlation between narcissism and self-disclosure on Facebook (r = .33, p < .01, one tailed) and between some of coping styles; problem engagement (r = .23, p < .01, one tailed) emotional submission (r = .11, p < .05, one tailed) and mindful planning (r = .18, p < .01, one tailed), and self-disclosure on Facebook. Narcissism (β = .37, p < .001, one tailed) and problem engagement coping style (β = .35, p < .001, one tailed) can significantly predict self-disclosure on Facebook. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การหลงตนเอง |
en_US |
dc.subject |
การแก้ปัญหาในวัยรุ่น |
en_US |
dc.subject |
การเปิดเผยตนเอง |
en_US |
dc.subject |
เฟซบุ๊ก |
en_US |
dc.subject |
สื่อสังคมออนไลน์ |
en_US |
dc.subject |
การปรับตัว (จิตวิทยา) |
en_US |
dc.subject |
Narcissism |
en_US |
dc.subject |
Problem solving in adolescence |
en_US |
dc.subject |
Self-disclosure |
en_US |
dc.subject |
Facebook (Electronic resource) |
en_US |
dc.subject |
Social media |
en_US |
dc.subject |
Adjustment (Psychology) |
en_US |
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบหลงตนเองและการเผชิญปัญหาต่อการเปิดเผยตนเองบนเฟชบุ๊ก |
en_US |
dc.title.alternative |
Relationships between narcissism and coping style on self-disclosure on facebook |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
tnattasuda@gmail.com |
|