DSpace Repository

การพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชูพงศ์ ปัญจมะวัต
dc.contributor.author จิดาภา ภาณุมาภรณ์
dc.contributor.author ชะพลู สร้อยสุดารัตน์
dc.contributor.author วริศรา มีจั่นเพชร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2015-11-03T03:05:46Z
dc.date.available 2015-11-03T03:05:46Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.other PSP5720
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46902
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 en_US
dc.description A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2014 en_US
dc.description.abstract โครงการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา และ 2) เพื่อศึกษาถึงผลของการจัดโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนราชวินิต บางแค ปานขำ แผนการเรียนคณิต-อังกฤษ จำนวน 60 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองจำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน โดยมีการจัดโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา และวัดผลการเรียนรู้ผ่านการตอบคำถามจากแบบทดสอบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการรับชมสื่อโฆษณา ผลการวิจัยเมื่อวิเคราะห์ผลทางสถิติแบบ t-test พบว่า 1)หลังการเข้าร่วมโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมกลุ่มทดลองมีคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการรับชมสื่อโฆษณาสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 2)หลังเข้าร่วมโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมกลุ่มทดลองมีคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการรับชมสื่อโฆษณาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research were to develop learning program for enhance critical thinking skills based on Bloom’s theory in advertising media consumption, and to study effects of this learning program. Participants were 60 mathayom suksa six students of Rajwinit Bangkae Pankhum school split into 30 participants for experiment group, and participants for control group. By arranging learning program for enhance critical thinking skills based on Bloom’s theory in advertising media consumption and evaluated learning outcomes by critical thinking skills in advertising media consumption test. The result analyzed by t-test statistics, revealed that: 1)After participated learning program, Critical thinking skills in advertising media consumption of experiment group showed higher scores than before participating in learning program at the 0.05 level of significance. 2)After participated learning program, Experiment group showed higher scores critical thinking skills in advertising media consumption than control group at the 0.05 level of significance. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1382
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ทักษะทางการคิด en_US
dc.subject ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ en_US
dc.subject Thinking skill en_US
dc.subject Critical thinking en_US
dc.title การพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา en_US
dc.title.alternative DEVELOPMENT OF LEARNING PROGRAM TO ENHANCE CRITICAL THINKING SKILLS BASED ON BLOOM’S THEORY IN ADVERTISING MEDIA CONSUMPTION en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Chupong.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1382


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record