dc.contributor.advisor |
วัชราภรณ์ บญญศิริวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ชลธิชา ศรีรุ่งเรือง |
|
dc.contributor.author |
ณัฐเสฐ คมวงศ์วิวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
พันธุ์ทิพย์ เปาทอง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2016-02-17T12:24:43Z |
|
dc.date.available |
2016-02-17T12:24:43Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.other |
Psy 137 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47186 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554 |
en_US |
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษามีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคและการมองโลกในแง่ดีกับความเครียดของนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 และ 4 จ านวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) มาตรวัดความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรค 2) มาตรวัดการมองโลกในแง่ดี และ 3) มาตรวัดความเครียดของนิสิตนักศึกษาแพทย์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคมีสหสัมพันธ์ทางลบกับความเครียดอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (r = -.17, p < .05) 2. การมองโลกในแง่ดีมีสหสัมพันธ์ทางลบกับความเครียดอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคและการมองโลกในแง่ดีสามารถร่วมกันทำนายระดับความเครียดได้อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study the relationships among adversity quotient, optimism, and stress in medical students. Participants were 150 third-and fourth-year medical students. The instruments were 1) The adversity quotient scale, 2) The optimism scale, and 3) The stress scale. Results indicated that 1. Adversity Quotient was significantly correlated with stress in negative way. (r = -.17, p < .05) 2. Optimism was not negatively correlated with stress. 3. Adversity Quotient and Optimism could not significantly predict stress. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การมองโลกในแง่ดี |
en_US |
dc.subject |
ความเครียด (จิตวิทยา) |
en_US |
dc.subject |
นักศึกษาแพทย์ |
en_US |
dc.subject |
Optimism |
en_US |
dc.subject |
Stress (Psychology) |
en_US |
dc.subject |
Medical students |
en_US |
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรค การมองโลกในแง่ดีกับความเครียดของนิสิตนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 3 และ 4 |
en_US |
dc.title.alternative |
Relationships among adversity quotient, optimism, and stress in third- and fourth-year medical students |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
watcharaporn.p@chula.ac.th |
|