DSpace Repository

ความชอบธรรมของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญภายใต้หลักนิติรัฐและเสรีนิยมประชาธิปไตย : ศึกษากรณีคำวินิจฉัยที่ 18-22/2555 และ 15-18/2556

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย en_US
dc.contributor.author กิจสุวัฒน์ นวลสุวรรณ en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ en_US
dc.date.accessioned 2016-12-01T08:03:50Z
dc.date.available 2016-12-01T08:03:50Z
dc.date.issued 2558 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50265
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 en_US
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง “ความชอบธรรมของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญภายใต้หลักนิติรัฐและเสรีนิยมประชาธิปไตย : ศึกษากรณีคำวินิจฉัยที่ 18-22/2555 และ 15-18/2556” นี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาความชอบธรรมของศาลรัฐธรรมนูญผ่านบริบทและคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญบนพื้นฐานของกรอบแนวคิดเสรีประชาธิปไตย งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้กรอบความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเสรีประชาธิปไตยกับแนวคิดความชอบธรรมของ David Beetham เป็นกรอบหลักในการศึกษา ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 เป็นกรณีศึกษาจำนวน 2 คดี คือ คำวินิจฉัยกลางและคำวินิจฉัยส่วนตนในคดีการแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 291 (18-22/2555) และ คำวินิจฉัยกลางและคำวินิจฉัยส่วนตนในคดีการแก้ไขรัฐธรรมนูญประเด็นที่มาและคุณสมบัติของสมาชิกวุฒิสภา (15-18/2556) และใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากคำวินิจฉัยกลางและคำวินิจฉัยส่วนตนประกอบกับการสำรวจข้อมูลจากเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า ทั้งคำวินิจฉัยกลางและคำวินิจฉัยส่วนตนในคดีการแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 291 และคำวินิจฉัยกลางและคำวินิจฉัยส่วนตนในคดีการแก้ไขรัฐธรรมนูญประเด็นที่มาและคุณสมบัติของสมาชิกวุฒิสภา มีความไม่สอดคล้องกับแนวคิดเสรีประชาธิปไตยจึงนำไปสู่ความไม่ชอบธรรมของศาลรัฐธรรมนูญ en_US
dc.description.abstractalternative This research aims to discuss and analyse legitimacy of Constitutional Court on context and Constitutional Court's Decisions based on liberal democracy. This qualitative research is expected to study and understand two Constitutional Court Decisions, on the amendment of article 291 (18-22/2555) and the amendment of the charter on senators’ election and qualifications (15-18/2556), by using the concept and theory of liberal democracy and legitimation of power as a framework. The data was collected by documentary research. The result of the study has shown that both the decision on the amendment of 291 and the amendment of the charter on senator’s election and qualifications is not consistent with the concept of liberal democracy leading to legitimacy problems of Constitutional Court. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.802
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ศาลรัฐธรรมนูญ -- ไทย
dc.subject ประชาธิปไตย -- ไทย
dc.subject คำพิพากษาศาล
dc.subject Constitutional courts -- Thailand
dc.subject Democracy -- Thailand
dc.subject Judgments
dc.title ความชอบธรรมของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญภายใต้หลักนิติรัฐและเสรีนิยมประชาธิปไตย : ศึกษากรณีคำวินิจฉัยที่ 18-22/2555 และ 15-18/2556 en_US
dc.title.alternative Legitimacy of Constitutional Court's decisions under legal state and liberal democracy : case studies of the decisions no. 18-22/2555 and 15-18/2556 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การปกครอง en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Pornson.L@chula.ac.th,pornsonl@hotmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2015.802


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record