dc.contributor.advisor |
ทิพย์นภา หวนสุริยา |
en_US |
dc.contributor.author |
มิฬา แซ่ซ่ำ |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
en_US |
dc.date.accessioned |
2016-12-02T02:06:00Z |
|
dc.date.available |
2016-12-02T02:06:00Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50894 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยและกลไกที่นำไปสู่วัตถุนิยม เนื่องจากยังไม่มีงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความนิยมความสมบูรณ์แบบและวัตถุนิยม โดยงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาอิทธิพลของความนิยมความสมบูรณ์แบบต่อวัตถุนิยม ซึ่งงานวิจัยนี้มีสมมติฐานว่า ความนิยมความสมบูรณ์แบบมีอิทธิพลทางบวกต่อวัตถุนิยม โดยมีการนำเสนอตนเองด้วยความสมบูรณ์แบบและการเพิ่มคุณค่าให้ตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 380 คน ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม 4 อย่าง ได้แก่ มาตรวัดความนิยมความสมบูรณ์แบบ มาตรวัดการเพิ่มคุณค่าให้ตนเอง มาตรวัดการนำเสนอตนเองด้วยความสมบูรณ์แบบ และมาตรวัดความเป็นวัตถุนิยม การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของ SEM เมื่อเปรียบเทียบโมเดลหลักกับโมเดลทางเลือก โดยเปรียบเทียบจากค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2) ค่าไค-สแควร์ต่อองศาอิสระ และความแตกต่างระหว่างสถิติไค-สแควร์ พบว่า โมเดลทางเลือกสามารถทำนายวัตถุนิยมได้ดีกว่าโมเดลหลัก โดยผลการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างพบว่าความนิยมความสมบูรณ์แบบสามารถทำนายวัตถุนิยมได้โดยความนิยมความสมบูรณ์แบบมีอิทธิพลทางอ้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับวัตถุนิยม โดยผ่านการนำเสนอตนเองด้วยความสมบูรณ์แบบ และการเพิ่มคุณค่าให้ตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน แต่ไม่พบอิทธิพลทางตรงของความนิยมความสมบูรณ์ต่อวัตถุนิยม ซึ่งทำให้โมเดลนี้มีอิทธิพลส่งผ่านแบบสมบูรณ์ (full mediation effects) |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The study was thus aimed to examine factors and mechanism that might influence materialism. There is no research study, either in Thailand or other countries, that explore correlation between perfectionism and materialism. The purpose of this research is to study the influence of perfectionism on materialism. We hypothesized that perfectionism would predict participants’ materialistic tendency. We further predicted that the relationship between perfectionism and materialism would be mediated by perfectionistic self-presentation and self-enhancement. A convenience sample of 380 undergraduates from public and private universities in Bangkok were surveyed. The data meet the assumptions of Structural Equation Modeling (SEM). Theresult of SEM revealed perfectionism can predict materialism by statistically significant indirect effects of perfectionism on materialism, with perfectionistic self-presentation and self–enhancement as mediators. The direct effect of perfectionism on materialism was not significant, suggesting full mediation effects of the two mediators. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.817 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การยึดติดความสมบูรณ์แบบ |
|
dc.subject |
วัตถุนิยม |
|
dc.subject |
การนำเสนอตนเอง |
|
dc.subject |
Perfectionism (Personality trait) |
|
dc.subject |
Materialism |
|
dc.subject |
Self-presentation |
|
dc.title |
อิทธิพลของความนิยมความสมบูรณ์แบบต่อวัตถุนิยมโดยมีการนำเสนอตนเองด้วยความสมบูรณ์แบบและการเพิ่มคุณค่าให้ตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of perfectionism on materialism : the mediating roles of perfectionistic self-presentation and self-enhancement |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Thipnapa.H@Chula.ac.th,Thipnapa.H@Chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2015.817 |
|