dc.contributor.advisor |
เอกกมล วรรณเมธี |
en_US |
dc.contributor.author |
ทัตธนภรณ์ คำศรี |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
en_US |
dc.date.accessioned |
2016-12-02T06:05:29Z |
|
dc.date.available |
2016-12-02T06:05:29Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51365 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะน้ำท่าในลุ่มน้ำน่านตอนบนจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่และการเปลี่ยนแปลงฝน โดยใช้แบบจำลอง Integrated Flood Analysis System (IFAS) ผู้วิจัยได้สอบเทียบแบบจำลองกับปริมาณน้ำท่ารายวันที่สถานี N.1 อ.เมือง จ.น่าน ปี พ.ศ.2550-2553 และทดสอบประสิทธิภาพของแบบจำลองในการทำนายลักษณะน้ำท่าระหว่างปี พ.ศ.2554-2557 พบว่าแบบจำลอง IFAS สามารถทำนายกราฟน้ำท่าได้โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ Nash-Sutcliffe เท่ากับ 0.82 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพื้นที่พืชไร่ของลุ่มน้ำน่านตอนบนในปี พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2562 และพ.ศ. 2567 ผลการศึกษาพบว่า หากลุ่มน้ำน่านตอนบนได้รับฝนเช่นเดียวกับปี พ.ศ. 2552 จะมีปริมาณน้ำท่าเพิ่มขึ้น 5.19 ล้าน ลบ.ม. ต่อการเพิ่มของพื้นที่พืชไร่ 1,000 ไร่ ในด้านของการเปลี่ยนแปลงฝน ผู้วิจัย เลือกพิจารณาฝนที่มีคาบการเกิดซ้ำใกล้เคียงกับฝนในปี พ.ศ.2552 ทั้งหมด 4 รูปแบบ ปริมาณน้ำฝนที่เพิ่มขึ้น จะถูกกระจายตามสัดส่วนของปริมาณฝนรายวันในปี พ.ศ. 2552 ผลการศึกษาพบว่าหากการใช้ที่ดินไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปี พ.ศ. 2552 เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของปริมาณฝน ปริมาณน้ำท่ารวมจะเพิ่มขึ้นแบบเอกซ์โพเนเชียล โดยที่ความเข้มฝนจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางอุทกวิทยามากกว่าปริมาณฝน และเมื่อพิจารณาทั้งการเปลี่ยนแปลงพื้นที่พืชไร่และปริมาณฝนในเวลาเดียวกัน พบว่า เมื่อปริมาณฝนน้อยพื้นที่พืชไร่มีอิทธิพลต่อการเกิดน้ำท่ามากกว่าปริมาณฝน ในอัตราส่วน 57:43 แต่เมื่อปริมาณฝนเพิ่มขึ้นปริมาณฝนจะส่งอิทธิพลให้เกิดน้ำท่ามากกว่าอิทธิพลจากพื้นที่พืชไร่ ในอัตราส่วน 65:35 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This study investigates the effects of land use change, particularly from deciduous forest to the crop land, and climatic changes on the stream discharge at the Upper Nan basin, using, an Integrated Flood Analysis System (IFAS), which is a GIS-based hydrological model. The model was calibrated against time series of daily discharge measured near Amphoe Mueang Nan between 2550 B.E. to 2553B.E. Validation of the model against the observed discharge over the period of 2554 B.E. to 2557B.E has shown the capability of IFAS in simulating the hydrograph in the upper Nan basin with the Nash-Sutcliffe coefficient of 0.82. Researcher created land use change in 2557 B.E., 2562 B.E., and 2567 B.E., in which the crop land was increased and decreasing deciduous forest. The simulated total discharge, given 2552 B.E. rainfall data, increased 5.19 million cubic meters by increasing 1,000 rai of field crop area. In terms of changes in precipitation, researcher generated four sets of precipitation with return periods close to rainfall in 2552 B.E. The amount of increased rainfall was proportionately distributed to the daily rainfall in 2552 B.E. It is found that, if there is no change in land use from 2552 B.E., total annual runoff exponentially increases with the amount of rainfall. Rainfall intensity has more effects on hydrologic changes compare to the amount of rainfall. Considering both changes in crop land and precipitation, in case of small amount of rainfall, changes in land use have larger effects on the amount of discharge generated compared to rainfall in the ratio of 57:43. However, when amount of rainfall was largely increased, precipitation has more effects on discharge generation compare to the land use change in the ratio of 65:35. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.939 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ลุ่มน้ำน่าน |
|
dc.subject |
การจัดการลุ่มน้ำ |
|
dc.subject |
พยากรณ์ทางอุทกวิทยา |
|
dc.subject |
แบบจำลองทางภูมิศาสตร์ |
|
dc.subject |
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ |
|
dc.subject |
Nan Watersheds |
|
dc.subject |
Watershed management |
|
dc.subject |
Hydrological forecasting |
|
dc.subject |
Relief models |
|
dc.subject |
Geographic information systems |
|
dc.title |
การคาดการณ์น้ำท่าตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสภาพภูมิอากาศของลุ่มน้ำน่านตอนบน โดยใช้แบบจำลองอุทกวิทยาบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Runoff prediction under land use and climate change in upper Nan basin using GIS - based hydrological mode |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
ekkamol.v@chula.ac.th,ekkamol.v@chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2015.939 |
|