dc.contributor.author | รมย์ ภิรมนตรี | |
dc.date.accessioned | 2017-01-16T02:06:52Z | |
dc.date.available | 2017-01-16T02:06:52Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.citation | วารสารรัสเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 5, 2 (2557), 1-74 | en_US |
dc.identifier.issn | X000-059X | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51477 | |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสาธารณรัฐไครเมีย ดินแดนที่มีภูมิประเทศสวยงาม ภูมิอากาศอบอุ่น เป็นคาบสมุทรที่ยื่นเข้าไปในทะเลดำ ที่มีลักษณะภูมิรัฐศาสตร์ที่เหมาะสมที่จะใช้เป็นท่าเรือในการติดต่อค้าขายกับประเทศที่ตั้งอยู่รายรอบทะเลดำ ตอนต้นของบทความได้ย้อนอดีตความเป็นมาของไครเมียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อไครเมียอยู่ภายใต้อาณาจักรออตโตมันและจักรวรรดิรัสเซียจะทำสงครามแย่งชิงมาได้และพัฒนาจนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเมืองพักตากอากาศของราชวงศ์โรมานอฟและเหล่ามหาเศรษฐีรัสเซียและเมื่อเกิดการปฏิบัติได้มีการต่อสู้แย่งชิงคาบสมุทรไครเมียระหว่างกองทัพแดงของฝ่ายปฏิวัติกับกองทัพรัสเซียขาว ที่พยายามจะใช้ไครเมียเป็นฐานในการทำสงครามกลางเมืองยึดรัสเซียคืนจากกองทัพแดงแต่ก็ต้องพ่ายแพ้ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ไครเมียได้ถูกกองทัพนาซีเยอรมันยึดครองได้ จนกระทั่งช่วงปลายสงครามกองทัพแดงของสหภาพโซเวียตจึงยึดคืนมาได้ และพระราชวังลิวาเดียในยัลตาได้ถูกใช้เป็นสถานที่ประชุมผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรจนยัลตาและไครเมียมีชื่อเสียงโด่งดังรู้จักกันทั่วโลก เนื้อหาหลักของบทความในช่วงกลางกล่าวถึงไครเมีย ที่ถูกผู้นำประเทศสหภาพโซเวียตโอนย้ายให้ไปเป็นหน่วยการปกครองที่ขึ้นต่อยูเครน จนกระทั่งเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองในยูเครนในปลายปี ค.ศ. 2013 ทำให้ไครเมียได้โอกาสที่จะประกาศตนเป็นอิสรภาพและกลับไปอยู่ภายใต้รัสเซียอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2014 แต่ยูเครนได้กล่าวหารัสเซียว่ายึดครองดินแดนของตน ส่งผลเกิคความขัดแย้งระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียกับยูเครน โดยฝ่ายยูเครนมีชาติตะวันตกและสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุน ในตอนท้ายของบทความได้กล่าวถึงการลงโทษรัสเซียในกรณีดังกล่าวของสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาและพันธมิตร อีกทั้งการโต้ตอบของรัสเซียในกรณีนี้ | |
dc.description.abstractalternative | This article presents information about the Republic of Crimea. which is land with a beautiful landscape and a warm climate. Being a peninsular jutting into the Black Sea makes it ideal in terms of geo-political features to serve as a harbor for vessels trading with countries located on the Black Sea coast. The beginning of this article deals with the history of crimea from the 15th Century when it was under the domination of the ottoman empire and then. later, controlled by the Russian Empire. It developed and prospered under Russian rule, serving as a resort town for the Romanovs and Russian millionaires. During the Russian Revolution, there were skirmishes between the revolutionary Red Army and the White Russian Army in the attempt to gain control of Crimea. The White Russian Army intended to use this peninsular as its base for the war to rescue Russia from the domination of the Red Army but it failed. During the Second World War. Crimea came under the control of the Nazis for some time until, near the end of the War, the Red Army of the Soviet Union managed to win it back. Livadia Palace in Yalta was used as the venue for a meeting of the leaders of the Allies, making the names Yalta and Cimea famous worldwide. The main issue of the middle part of the article deals with Crimea’s transfer by the Leaders of the Soviet Union to an administrative unit under the control of Ukraine. It remained in that status until the political crisis in Ukraine in 2013, when Crimea seized the opportunity to declare in Ukraine in 2013, when Crimea seized the opportunity to declare its independence from the Ukraine and March 18th, 2014 and, once againt, to become affiliated to Russia. However, Ukraine has accused Russia of intervening in its territory, resulting in a conflict between the Russian Federation and the Ukraine with Ukraine being supported by Western countries and the U.S.A. The end of the article deals with the punishing measures that the European Union, the U.S.A. and their allies taken against Russia and Russia’s retaliation. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | ศูนย์รัสเซียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รัสเซีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ --ไครเมีย | en_US |
dc.title | บทบาทของรัสเซียในไครเมีย | en_US |
dc.title.alternative | The role of Russia in Crimea | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.email.advisor | Rom.P@Chula.ac.th |