dc.contributor.advisor |
อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช |
en_US |
dc.contributor.author |
ชาญ รัตนะพิสิฐ |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
en_US |
dc.date.accessioned |
2017-03-03T03:00:39Z |
|
dc.date.available |
2017-03-03T03:00:39Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52133 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาโมเดลการให้อภัยโดยนัยและการให้อภัยโดยชัดแจ้ง 2) ศึกษาอิทธิพลของการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยนัย และการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยชัดแจ้ง ต่อการให้อภัยโดยนัยและการให้อภัยโดยชัดแจ้ง โดยมีอคติโดยนัย และอคติโดยชัดแจ้งเป็นตัวแปรส่งผ่าน 3) เพื่อเปรียบเทียบโมเดลการให้อภัยโดยนัยและการให้อภัยโดยชัดแจ้งภายใต้สภาวะการคุกคามที่มาจากบุคคลภายในกลุ่มเดียวกันและบุคคลภายนอกกลุ่ม ซึ่งงานวิจัยนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน กลุ่มสหสถาบัน ชุดที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในเงื่อนไขการถูกคุกคามจากบุคคลภายในกลุ่มเดียวกัน และจากบุคคลภายนอกกลุ่ม คือ นิสิตมหาวิทยาลัย จำนวน 720 คน ซึ่งโมเดลที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นประกอบด้วยตัวแปรแฝงจำนวน 6 ตัว ได้แก่ การเห็นคุณค่าแห่งตนโดยนัย การเห็นคุณค่าแห่งตนโดยชัดแจ้ง อคติโดยนัย อคติโดยขัดแจ้ง การให้อภัยโดยนัย และการให้อภัยโดยชัดแจ้ง เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือวัดที่มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .77-.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม LISREL 8.72 และการวิเคราะห์ทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยที่สำคัญ 1) การเห็นคุณค่าแห่งตนโดยนัยและโดยชัดแจ้งมีความสัมพันธ์ทางลบต่ออคติโดยนัยและโดยชัดแจ้ง แต่มีความสัมพันธ์ทางบวกต่อการให้อภัยโดยนัยและโดยชัดแจ้ง ส่วนอคติโดยนัยและโดยชัดแจ้งมีความสัมพันธ์ทางลบต่อการให้อภัยโดยนัยและโดยชัดแจ้ง 2) โมเดลอิทธิพลของการให้อภัยโดยนัยและโดยชัดแจ้งที่พัฒนาขึ้น ทั้งเงื่อนไขการถูกคุกคามจากบุคคลภายในกลุ่ม และภายนอกกลุ่ม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยตัวแปรอิสระในโมเดลอธิบายการให้อภัยโดยนัยและโดยชัดแจ้งในกลุ่มการถูกคุกคามจากบุคคลภายในกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 85 และ 54 ตามลำดับ (X2 = 31.71, df = 23, p = 0.11, GFI = .99, AGFI = .98, RMSEA = .02) ตัวแปรอิสระในโมเดลอธิบายการให้อภัยทั้งสองรูปแบบในกลุ่มการถูกคุกคามจากบุคคลภายนอกกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 66 และ 90 ตามลำดับ (X2 = 28.96, df = 19, p = 0.07, GFI = .99, AGFI = .98, RMSEA = .03) 3) โมเดลสมมติฐานการวิจัยของกลุ่มเงื่อนไขการถูกคุกคามทั้ง 2 กลุ่ม ไม่มีความแปรเปลี่ยนในรูปแบบของโมเดลแต่มีความแปรเปลี่ยนของค่าพารามิเตอร์เมทริกซ์อิทธิพลเชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรภายในแฝง (BE) |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were 1) To develop and validate causal models of implicit and explicit forgiveness. 2) To study the effect of implicit-explicit self-esteem on implicit-explicit forgiveness with implicit-explicit prejudice as mediators and 3) To examine the invariance of the developed model across in-group and out-group threats. This study was approved by the Ethical Review Committee. The participants in in-group and out-group threat conditions consisted of 720 university students in Bangkok, Thailand. The developed model consisted of 6 latent variables: implicit self-esteem, explicit-self-esteem, implicit prejudice, explicit prejudice, implicit forgiveness, and explicit forgiveness. Data were collected by questionnaires and scales with reliability ranged from .77 - .90. Structural equation modeling (LISREL 8.72) and t-test were used for statistical analysis. The results indicate that: 1) Implicit and explicit self-esteem have significantly negative correlations with implicit and explicit prejudice, whereas they have positive correlations with implicit and explicit forgiveness. Furthermore, implicit and explicit prejudice have negative correlations with implicit and explicit forgiveness. 2) The causal model of implicit and explicit forgiveness for the in-group threat condition are fit to the empirical data (X2 = 31.71, df = 23, p = 0.11, GFI = .99, AGFI = .98, RMSEA = .02). All independent variables in the model account for 85% and 54% of total variance of implicit and explicit forgiveness, respectively. For out-group threat condition, the model are also fit to the empirical data (X2 = 28.96, df = 19, p = 0.07, GFI = .99, AGFI = .98, RMSEA = .03), all independent variables in the model account for 66% and 90% of total variance of implicit and explicit forgiveness, respectively. 3) The two causal models of each threat condition are invariance in model form. However, the causal effects among endogenous variables, are significantly different across threat conditions. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.307 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความนับถือตนเอง |
|
dc.subject |
การให้อภัย |
|
dc.subject |
Self-esteem |
|
dc.subject |
Forgiveness |
|
dc.title |
อิทธิพลของการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยชัดแจ้งและโดยนัย ต่อการให้อภัยโดยชัดแจ้งและโดยนัยโดยมีอคติโดยชัดแจ้งและโดยนัยเป็นตัวแปรส่งผ่าน : การวิเคราะห์กลุ่มพหุ เปรียบเทียบระหว่างการคุกคามจากภายในกลุ่มและภายนอกกลุ่ม |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of implicit and explicit self-esteem on implicit and explicit forgiveness with implicit and explicit prejudice as mediators : multi-group analysis comparing between in-group and out-group threats |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Apitchaya.C@Chula.ac.th,apitchaya.c@chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2016.307 |
|