DSpace Repository

Petrochemical industry in Map Ta Phut and automotive industry in Laem Chabang : a comparative study of industrial adaptation in Eastern Seaboard

Show simple item record

dc.contributor.advisor Manaskorn Rachakornkij en_US
dc.contributor.advisor Nualnoi Treerat en_US
dc.contributor.author Yamaguchi, Kensuke en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Arts en_US
dc.date.accessioned 2017-03-03T03:03:09Z
dc.date.available 2017-03-03T03:03:09Z
dc.date.issued 2016 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52240
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016 en_US
dc.description.abstract Focusing on the Eastern Seaboard Development, this dissertation addresses differences between the petrochemical industry and automotive industry in responding to a changing business environment. It explains why the automotive industry, in contrast with the petrochemical industry which has declined in the face of global competitions, remains technologically dynamic and competitive since the Asian financial crisis. Current debates—which either glorify the region’s economic development from the bureaucratic perspectives or which vilify its adverse impact from social and environmental perspectives—don’t address the difference of two industries. The dissertation argues that a network-based industrial system is emerging in the automotive industry which is blurring supporting-firms boundaries and sustaining regional advantage. Based on semi-structured interviews, the character of the independent firm-based industrial systems is found out regarding the petrochemical industry. First, regional lobbying organizations are indifferent to the pattern of regional social interaction. Second, industrial structure is heavily vertically integrated in a few major corporate groups where inter-group transactions are rare. Third, the corporate groups have their own centralized management and decision-making systems. On the other hand, the automotive industry has the character of the network-based industrial system. First, a bottom-up organization helps to create and sustain regular patterns of regional social interaction among skilled Thai engineers. Second, the Thai industrial structure is largely independent of the traditional Japanese vertically-integrated supply chain system. Third, corporate organization is decentralized and skilled workers are at their discretion to act to some extent. Three recommendations are drawn. First, it should be considered for the petrochemical industry to shift the character of the industrial system from being an independent firm-based one to a network-based one through an unbundling of energy industries. Second, the petrochemical industry should utilize the dynamism in the adjacent automotive industry. Third, for this regional integration, a bottom-up consortium is needed as a hub of regional social networking. Still, the dissertation leaves a further important question for Thai study: what is the reason behind the fact that the petrochemical industry has an independent firm-based industrial system in Thailand? The question ought to be addressed through the lens of rent-seeking behaviors for energy resources. en_US
dc.description.abstractalternative วิทยานิพนธ์นี้มีเป้าหมายในการศึกษาการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก โดยวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมยานยนต์อันสืบเนื่องจากสภาพการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ เพื่ออธิบายสาเหตุที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีหดตัวลงท่ามกลางการแข่งขันโลก เมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ยังสามารถคงขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและการแข่งขันได้ นับแต่การเกิดวิกฤตทางการเงินในภูมิภาคเอเซีย ประเด็นการอภิปรายที่ผ่านมามีเพียงการเชิดชูการพัฒนาทางเศรษฐกิจของภูมิภาคจากมุมมองของหน่วยงานรัฐ หรือการประณามผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ไม่มีการหยิบยกประเด็นความแตกต่างของอุตสาหกรรมทั้งสอง วิทยานิพนธ์นี้วิเคราะห์และยกประเด็นโครงข่ายระบบอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีการพัฒนาขึ้นเป็นระบบโครงข่ายซึ่งสลายพรมแดนของบริษัทต่างๆ และคงความได้เปรียบด้านธุรกิจในภูมิภาคนี้ จากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง อุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีลักษณะของระบบอุตสาหกรรมเป็นรูปแบบเอกเทศ ประการแรกองค์กรระดับภูมิภาคที่เกิดขึ้นจากทางธุรกิจนี้ไม่ให้ความสำคัญด้านการมีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม ประการที่สองโครงสร้างอุตสาหกรรมของบริษัทที่มีเพียงสองสามแห่ง มีการพัฒนาเป็นแนวดิ่งและเชื่อมโยงกันเองในกลุ่มของตนเท่านั้น ประการที่สามกลุ่มบริษัทเหล่านี้มีระบบบริหารและการตัดสินใจแบบศูนย์กลาง แต่ในอีกด้านหนึ่ง อุตสาหกรรมยานยนต์กลับมีลักษณะเป็นระบบอุตสาหกรรมโครงข่าย ประการแรกองค์กรที่มีระบบบริหารแบบล่างสู่บนได้ช่วยเสริมสร้างการปฎิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างวิศวกรชาวไทยที่มีความชำนาญ ประการที่สองโครงสร้างอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่ไม่ได้พึ่งพาระบบห่วงโซ่อุปทานแนวดิ่งของญี่ปุ่น ประการที่สามองค์กรธุรกิจเป็นแบบกระจายอำนาจและแรงงานที่มีความชำนาญสามารถทำงานตามวิจารณญาณของตนได้ระดับหนึ่ง วิทยานิพนธ์นี้จึงสรุปข้อแนะนำสามประการดังนี้ ประการแรกอุตสาหกรรมปิโตรเคมีควรพิจารณาการเปลี่ยนรูปแบบจากบริษัทเอกเทศเป็นรูปแบบโครงข่าย โดยไม่กระจุกตัวกันเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน ประการที่สองระบบอุตสาหกรรมปิโตรเคมีควรใช้ประโยชน์จากพลวัตของอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง ประการที่สามสำหรับการเชื่อมโยงในระดับภูมิภาคควรเป็นการร่วมมือจากล่างสู่บนเพื่อนำไปสู่การเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทางสังคมของภูมิภาค อย่างไรก็ตามวิทยานิพนธ์นี้ยังคงเหลือคำถามที่สำคัญสำหรับการศึกษาเพิ่มเติม ได้แก่สาเหตุของการพัฒนาที่เป็นเอกเทศของบริษัทในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศไทย ซึ่งควรศึกษาจากมุมมองของพฤติกรรมการแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจของทรัพยากรพลังงาน en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1890
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Petroleum chemicals industry
dc.subject Motor vehicle industry
dc.subject อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์
dc.title Petrochemical industry in Map Ta Phut and automotive industry in Laem Chabang : a comparative study of industrial adaptation in Eastern Seaboard en_US
dc.title.alternative อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในเขตมาบตาพุดและอุตสาหกรรมยานยนต์ในเขตเเหลมฉบัง: การศึกษาเปรียบเทียบการปรับตัวของอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Doctor of Philosophy en_US
dc.degree.level Doctoral Degree en_US
dc.degree.discipline Thai Studies en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Manaskorn.R@Chula.ac.th,manaskorn@gmail.com en_US
dc.email.advisor Nualnoi.T@Chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2016.1890


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record