dc.contributor.author |
จิรศักดิ์ สุจริต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ชลบุรี |
|
dc.coverage.spatial |
กาญจนบุรี |
|
dc.date.accessioned |
2017-05-04T04:05:12Z |
|
dc.date.available |
2017-05-04T04:05:12Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52851 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาและสำรวจหอยทากบกในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมของพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ โดยเฉพาะในพื้นที่อนุรักษ์หมู่เกาะแสมสาร ชลบุรี พื้นที่เขาเขียว ชลบุรี และพื้นที่เขาวังเขมร-ช่องเขาขาด ไทรโยค กาญจนบุรี ได้พบหอยทากบกทั้งหมด 13 วงศ์ จำนวน 39 ชนิด ทั้งนี้มีหอยที่จัดได้ว่าหายากเนื่องจากมีการแพร่กระจายที่จำกัดมาก และเป็น endanger species ของประเทศไทย 4 ชนิด คือ หอยในสกุลของหอยนกขมิ้น Amphidomus schomburgki Amphidromus inversus Amphidromus semitesselatus และ พื้นที่เขาวังเขมร-ช่องเขาขาด ไทรโยค กาญจนบุรีอีก 2 สปีชีส์ การศึกษากายวิภาคศาสตร์ระบบสืบพันธุ์ของหอยทั้งสองพบว่า ส่วนของ male genitalai ในหอยทั้งสองมีลักษณะที่แตกต่าง นอกจากนี้ยังพบหอยนกขมิ้นน้อย Amphidromus glaucolarynx albicans ซึ่งมีรายงานครั้งแรกเมื่อปี 1902 ที่จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการบรรพบุรุษเดียว (Amphidromus clade, Syndromus clade and A. glaucolarynx clade) ในหอยทั้งสกุลนี้และในสกุลย่อย Amphidromus ในขณะที่ผลความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการของหอยในสกุลย่อย Syndromus ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์แบบวิวัฒนาการขนาน โดยมี A. glaucolarynx แยกออกมาบริเวณฐานของแผนภูมิ และสมควรที่ต้องแยกออกไว้ในสกุลย่อยที่แตกต่าง นอกจากนี้ผลการศึกษาทางสัณฐานวิทยา อวัยวะสืบพันธุ์ และแผ่นฟันยังสนับสนุนความแตกต่างนี้ โดยที่หอยต้นไม้ชนิด A. glaucolarynx ควรแยกออกจากหอยในกลุ่มสกุลย่อย Syndromus s.s. อย่างอิสระ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This land snails survey were conducted under the plant Genetic Conservation Project under the Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorm. The area of Samaesan islands, Khao Kiew, Chonburi and Khao Wang Kamen, Saiyok, kanchanaburi were survey for the land snails. These three main collecting sites show high diversity of the landsnails included 13 families and 39 species. Among these Amphidromus inversus, A. semitesselatus, A. schomburgki, A. glaucolarynx are supposed to be the endanger species. The two carnivorous streptaxids snails from Kanchanaburi are supposed to be underscribed species. There shell morphology is almost similar, but they differ mainly based on the malr genital organ. In addition, the most vanishing subspecies Amphidromus glaucolarynx was rediscovered from Kanchanaburi since it was described in 1902. The phylogentic result from mitochondrial DNA, 16S RNA gene sequences showed the monophyletic of the genus including three monophyletic groups (Amphidromus clade, Syndromus clade and A. glaucolarynx clade) Most species in the nominotypical subgenus revealed a monophyletic. While the majority species of the subgenus Syndromus s.l. were recovered as non-monophyletic, and A. glaucolarynx formed a distinct clade. The apparent paraphyly of Syndromus s.l. clade indicates that A. glaucolarynx should be recognized as |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2556 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
หอยทาก -- ไทย -- ชลบุรี |
en_US |
dc.subject |
หอยทาก -- ไทย -- กาญจนบุรี |
en_US |
dc.title |
ความหลากหลายของหอยทากบกและชนิดพันธุ์จำเพาะถิ่นบริเวณพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี : รายงานวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Diversity and endemic speceis of land snail in the area of plant genetic conservation project under the initiative of Her royal highness Princess Maha Chakri Sirindhorn |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
Chirasak.S@Chula.ac.th |
|
dc.discipline.code |
0110 |
en_US |