dc.contributor.advisor |
ชัยรัตน์ เอี่ยมกุลวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
วีร์ธารินทร์ สุนทรนนท์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2017-05-26T02:29:19Z |
|
dc.date.available |
2017-05-26T02:29:19Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52906 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์นี้ มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์กระบวนการกำหนดนโยบายเอทานอลของประเทศไทย เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่ผลักดันในการกำหนดนโยบายเอทานอลและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จและความล้มเหลวของนโยบายเอทานอล โดยการศึกษาเชิงเปรียบเทียบกับนโยบาย เอทานอลของประเทศบราซิลที่ประสบความสำเร็จในการใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงเกินกว่า 50% ของน้ำมันเบนซินที่ใช้ทั้งหมดภายในประเทศทำให้ประหยัดเงินตราต่างประเทศในการนำเข้าน้ำมันปิโตรเลียม และเป็นผู้นำโลกในการส่งออกเอทานอลสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ อย่างไรก็ตามนโยบายเอทานอลประสบความล้มเหลวเมื่อราคาน้ำมันปิโตรเลียมมีราคาถูกลง จากการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการการผลิตรถยนต์ประเภท Flexible Fuel Vehicle(FFV) ที่ใช้ได้ทั้งน้ำมันเบนซินและเอทานอล ทำให้ประเทศบราซิลประสบความสำเร็จทางด้านนโยบายเอทานอลอีกครั้งหนึ่ง จากผลการวิเคราะห์กระบวนการกำหนดนโยบายเอทานอลของประเทศบราซิลและประเทศไทย พบว่าเป็นผลผลิตนโยบายที่ได้จากกระบวนการทางการเมือง มีปัจจัยนำเข้า คือ ปัญหาของแต่ละประเทศหรือเรียกว่าเป็นปัจจัยที่ผลักดันในการกำหนดนโยบายเอทานอล และผ่านกระบวนการนำออกได้เป็นผลผลิตนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงของรัฐในการเพิ่มปริมาณการผลิตและการใช้เอทานอล สำหรับประเทศบราซิลจะรวมถึงการสนับสนุนการวิจัยอย่างเข้มข้นเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเอทานอล การปลูกอ้อย และรถยนต์ ในขณะที่ประเทศไทยไม่มีการสนับสนุนการวิจัยดังกล่าว ประเทศไทยยังคงมีการนำเข้าน้ำมันปิโตรเลียมในปริมาณมาก เนื่องจากมีปริมาณการใช้พลังงานเอทานอลเพียง 4.82% ของเบนซินที่ใช้ทั้งหมด เกษตรกรยังคงขาดทุนเนื่องจากราคาพืชอ้อยตกต่ำ รวมถึงปริมาณเอทานอลที่ผลิตได้ยังมีไม่เพียงพอที่จะส่งออกเพื่อนำรายได้เข้าประเทศ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study is to analyze the policy making process of ethanol in Thailand and its determinants whether they lead to a success or failure of policy. The research includes a comparative study of Brazilian ethanol policy which uses ethanol as fuel over 50 percent of total gasoline. Brazil has reduced the reliance on foreign money; moreover, it becomes a ethanol exporting leader in the world. However, the ethanol policy tended to fail when oil price went down. Nevertheless, Brazil has intensively researched on the engine that use ethanol; as result, flexible Fuel Vehicle (FFV) was introduced that used both petroleum oil and ethanol. This was one success of the Brazilian ethanol policy. The study was found that Brazilian ethanol policy and Thai ethanol policy were the outcome of political process. The inputs were factors that impact of the policy process of ethanol that results in ethanol policy, laws and regulations in regards to government intervention to increase production and usage of ethanol. For Brazil, the emphasis is on the government support on the development of technology, sugarcane plantation, and automobile production, whereas there is no such support in Thailand. As Thailand has used ethanol only about 4.82 percent of total gasoline, petroleum oil is still the major source of energy. Although sugarcane plantation in Thailand suffers a loss, Thailand still could not produce sufficient ethanol for export. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.31 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เอทานอล -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
เอทานอล -- นโยบายของรัฐ -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
เชื้อเพลิงเอทานอล -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
นโยบายพลังงาน -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
Ethanol -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Ethanol -- Government policy -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Ethanol as fuel -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Energy policy -- Thailand |
en_US |
dc.title |
กระบวนการกำหนดนโยบายเอทานอล |
en_US |
dc.title.alternative |
The policy making process of ethanol |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์การเมือง |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
chairat.a@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2008.31 |
|