dc.contributor.advisor |
อภิสิทธิ์ ซาลำ |
|
dc.contributor.author |
วทันยา พยุงรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
พิจิตร |
|
dc.coverage.spatial |
เพชรบูรณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2017-09-12T04:26:02Z |
|
dc.date.available |
2017-09-12T04:26:02Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53271 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับศิลาวิทยาและธรณีเคมีโดยครอบคลุมอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร อำเภอชนแดน และอำเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ หินภูเขาไฟในพื้นที่ศึกษาอยู่ในแนวหินภูเขาไฟเลย-เพชรบูรณ์-นครนายก โดยสามารถแบ่งหินในพื้นที่ศึกษาออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่ หินแอนดีไซต์เนื้อดอก หินฮอร์นเบลนแอนดีไซต์ หินบะซอลต์ หินแอนดีไซต์ไดค์เนื้อดอก และหินบะซอลต์ไดค์ จากหินทั้งหมด 5 กลุ่มได้ทำการเลือกมาวิเคราะห์ 4 กลุ่ม ได้แก่ หินฮอร์นเบลนแอนดีไซต์ หินบะซอลต์ หินแอนดีไซต์ไดค์เนื้อดอกและหินบะซอลต์ไดค์ โดยเลือกตัวอย่างที่ผุและการแปรเปลี่ยนน้อยที่สุด นำไปวิเคราะห์ธรณีเคมีโดยใช้วิธี XRF จากผลวิเคราะห์พบว่าหินทั้ง 3 กลุ่มมีค่า SiO2 ดังต่อไปนี้ หินบะซอลต์รวมทั้งหินบะซอลต์ที่เป็นไดค์พบว่ามีค่า SiO2 อยู่ในช่วง 37-43 wt % ซึ่งมีค่าน้อยที่สุด หินบะซอลติกแอนดีไซต์มีค่า SiO2อยู่ในช่วง 46-50 wt % หินแอนดีไซต์ไดค์เนื้อดอก และแอนดีไซต์เนื้อดอก มีค่า SiO2 อยู่ในช่วง 54-56 wt % จากการพล็อตไดอะแกรม Harker โดยใช้ค่าระหว่าง SiO2 และค่าธาตุหลัก (Oxides) พบว่ากลุ่มหินแอนดีไซต์ไดค์เนื้อดอกและหินบะซอลต์ไดค์ มีค่า K2O สูงกว่า และมีค่า MgO ต่ากว่าหินบะซอลติกแอนดีไซต์และหินบะซอลต์ อย่างชัดเจน หิบะซอลต์ไดค์ มีค่า Al2O3 ประมาณ 12.5 wt % ซึ่งต่ำกว่าหินอีกสามกลุ่มที่เหลือค่อนข้างมาก ส่วนธาตุร่องรอย เช่น Zr Cr และ Sr โดยผลวิเคราะห์พบว่าหินแอนดีไซต์ไดค์เนื้อดอกและหินบะซอลต์ไดค์จะมีค่า Zr สูงกว่าหินบะซอลติกแอนดีไซต์และหินบะซอลต์ หินกลุ่มไดค์มีค่า Cr ต่ำกว่า 70 ppm ในขณะที่ หินบะซอลติกแอนดีไซต์และหินบะซอลต์มีค่า Cr มากว่า 100 ppm และหินบะซอลติกแอนดีไซต์มีค่า Sr สูงกว่าหินบะซอลต์และหินกลุ่มไดค์ ซึ่งค่าทั้งหมดสัมพันธ์กับค่าที่บอกกลุ่มหินแคลอัลคาไลน์และโทรลิไอต์ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The project study area covers Amphoe Thap Khlo, Chon Daen, Wang Pong in Changwat Phichit and Phetchabun. This study is situated in Loei Phetchabun-Nakhon Nayok volcanic belt. Based on field data, texture and mineralogy can be subdivided into 5 groups namely; 1) porphyritic andesite 2) basaltic andesite 3) basalt 4) porphyritic andesite dyke and 5) porphyritic basalt dyke. Four out of five groups were selected for geochemistry analyses. They are basaltic andesite, basalt, porphyritic andesite dyke and porphyritic basalt dyke. All those samples are least altered. Based on SiO2 content the analyses can be subdivided into 3 groups, e.g., basalt and porphyritic basalt dyke (SiO2 37-43 wt %), basaltic andesite (SiO2 46-50 wt %) and porphyritic andesite and porphyritic andesite dyke (SiO2 54-56 wt %). Harker-type variation diagram plots of major oxides against SiO2 shows porphyritic andesite and basalt dyke have high K2O but low in MgO content. Porphyritic basalt dyke has average Al2O3 content 12.5 wt % which is lower than another rock type. Trace elements such as Zr, Cr and Sr. Dykes (porphyritic andesite and porphyritic basalt dyke) have Zr higher content higher than host volcanic rock (basaltic andesite and basalt). Both dykes have Cr value lower 70 ppm which is obviously lower than host volcanics (basaltic andesite and basalt) that has Cr higher 100 ppm. Basaltic andesite (host volcanics) has Sr higher than dykes. It is obvious that dykes has calc-alkaline affinity whereas, host volcanics has tholeiite affinity. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
หินบะซอลท์ |
en_US |
dc.subject |
หินแอนดีไซต์ |
en_US |
dc.subject |
ศิลาวิทยา -- ไทย -- พิจิตร |
en_US |
dc.subject |
ศิลาวิทยา -- ไทย -- เพชรบูรณ์ |
en_US |
dc.subject |
ธรณีเคมี -- ไทย -- พิจิตร |
en_US |
dc.subject |
ธรณีเคมี -- ไทย -- เพชรบูรณ์ |
en_US |
dc.subject |
Basalt |
en_US |
dc.subject |
Andesite |
en_US |
dc.subject |
Petrology -- Thailand -- Phichit |
en_US |
dc.subject |
Petrology -- Thailand -- Phetchabun |
en_US |
dc.subject |
Geochemistry -- Thailand -- Phichit |
en_US |
dc.subject |
Geochemistry -- Thailand -- Phetchabun |
en_US |
dc.title |
ศิลาวิทยาและธรณีเคมีของหินภูเขาไฟชาตรี ทับคล้อ-ชนแดน-วังโป่ง จังหวัด พิจิตรและเพชรบูรณ์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Petrology and geochemistry of Chatree volcanic complex, Thap khlo-Chon Daen-Wang Pong area, Changwat Phichit and Phetchabun |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Abhisit.A@chula.ac.th |
|