dc.contributor.advisor |
ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ |
|
dc.contributor.advisor |
ฐานบ ธิติมากร |
|
dc.contributor.author |
ปาริชาต ศรีเสน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
เพชรบุรี |
|
dc.date.accessioned |
2017-09-27T10:06:51Z |
|
dc.date.available |
2017-09-27T10:06:51Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53364 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description.abstract |
แหล่งน้ำบาดาลเป็นแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่ใต้ผิวดินที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต ซึ่งน้ำ บาดาลถูกนำขึ้นมา ใช้ตั้งแต่ภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม ตลอดจนภาคอุตสาหกรรมด้วย ดังนั้น ความต้องการใช้น้ำบาดาลจึง เพิ่มสูงขึ้น ตามไปด้วย แต่ในพื้น ที่ใกล้ชายฝั่งทะเลน้ำ บาดาลมักประสบปัญหาการปนเปื้อนของน้ำเค็มใน ปริมาณสูงจนไม่สามารถนำขึ้นมาใช้งานได้ เนื่องจากน้ำทะเลมีค่าความดันทางชลศาสตร์ (Hydraulic pressure) สูงกว่าน้ำจืด จึงทำให้น้ำทะเลแพร่เข้าไปผสมกับน้ำบาดาลในชั้น หินอุ้มน้ำ (Aquifer) เป็นลักษณะ รูปลิ่ม เรียกบริเวณที่น้ำทะเลและน้ำบาดาลผสมกันว่า Transitional zone นอกจากนี้กิจกรรมของมนุษย์ เช่น การสูบน้ำบาดาลในปริมาณมาก การสร้างคลองระบายน้ำ หรือคลองชลประทาน ยังเป็นปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้ น้ำทะเลแพร่เข้าสู่ชั้นน้ำบาดาลเพิ่มมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินขอบเขตของการรุกล้ำ ของน้ำทะเล เข้าไปในชั้นน้ำตะกอน ทรายชายหาด (beach sand aquifer, Qbs) ด้วยเทคนิควัดความต้านทานไฟฟ้า (resistivity survey) แบบ ความต้านทานไฟฟ้าหยั่งลึก (vertical electrical sounding, VES) โดยพื้นที่ศึกษาตั้งอยู่ที่ ตำบลชะอำ อำเภอ ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งพื้นที่ศึกษาอยู่ติดชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีคลองขุดสาหรับขนส่งสินค้าทางเรือ ลึก ประมาณ 10 เมตร กว้าง 45 เมตร ยาว 3.5 กิโลเมตร และคลองธรรมชาติ ลึกประมาณ 1-2 เมตร กว้าง 25 เมตร ทั้งสองคลองมีปากแม่น้ำไหลออกสู่ทะเล จากการศึกษาชั้นน้ำตะกอนทรายชายหาดที่มีความลึกตั้งแต่ 1-15 เมตร พบว่ามีมวลน้ำ เค็มขนาดใหญ่แพร่เข้าไปในชั้นน้ำตะกอนทรายชายหาดตั้งแต่หน้าหาดลึกเข้าไปใน แผ่นดินจนกระทั่งถึงจุดสำรวจแล้ว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลการรุกล้ำของน้ำทะเลจากหน้าหาดเข้ามาในแผ่นดิน ทำ ให้บริเวณที่ทำการสำรวจไม่เห็นแนวรอยต่อระหว่างน้ำทะเลกับน้ำบาดาลอย่างที่คาดการณ์ไว้ สำหรับขอบเขต การรุกล้ำ ของน้ำทะเลจากปัจจัยของโครงสร้างทางชลศาสตร์ อันได้แก่ คลองขุดและคลองธรรมชาตินั้นไม่ สามารถบอกได้ เนื่องจากน้ำ ทะเลได้รุกล้ำ เข้ามาในชั้นทรายชายหาดเกินกว่าบริเวณที่ทาการสำรวจแล้ว ดังนั้นเราจึงไม่สามารถเปรียบเทียบขอบเขตการรุกล้ำของน้ำทะเลจากอิทธิพลของคลองขุดและคลองธรรมชาติได้ ดังนั้นจึงบอกได้เพียงว่าในพื้นที่ศึกษาได้รับอิทธิพลการรุกล้ำของน้ำทะเลจากหน้าหาดเข้ามาในแผ่นดิน มากกว่าอิทธิพลจากโครงสร้างทางชลศาสตร์ จนเกิดการปนเปื้อนของน้ำทะเลทั่วทั้งชั้นน้ำแล้ว |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Groundwater is a large source of freshwater subsurface which important to living in delay rainfall area or lack of freshwater surface. Groundwater is used in household sector, agriculture sector and industrial sector. Consequently, the demand of fresh groundwater has increased continuously. But people in closely coastal areas have confronted a problem about highly saltwater contaminate in groundwater. So it in this area cannot be used for consume. Because of hydraulic pressure of seawater highly than groundwater, seawater will diffuse into aquifer like a wedge shape that is called “Transitional zone”. Moreover, activities of people which are the factor are also stimulate for increasing saltwater diffusion such as pumping groundwater , create a water distribution canal. The object of this research is to evaluate the boundary of saltwater intrusion into beach sand aquifer (Qbs) by using vertical electrical sounding (VES) resistivity survey technique. The study area is located in Amphoe Cha-am, Changwat Phetchaburi where is adjacent to coast of Gulf of Thailand. This area has 2 canals, consisting of the construction canal which is used for transport goods with 45 m wide,10 m deep and distance of 3.5 km and the natural canal width 25 m. Both canals flow into the Gulf of Thailand. The results of this study reveal that a bulk resistivity in beach sand aquifer (Qbs) is lower than 10 Ωm. This implies that saltwater mass totally intrude into Qbs of 1-15 m thick, and the interface between saltwater and groundwater cannot identified. Moreover, the interface of saltwater intrusion, influenced from construction canal and natural canal, cannot be distinguished because saltwater extend beyond the survey line. Therefore, we can conclude that Qbs in this study area has been contaminated by saltwater intrusion. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
น้ำบาดาล -- ไทย -- เพชรบุรี |
en_US |
dc.subject |
น้ำทะเล -- ไทย -- เพชรบุรี |
en_US |
dc.subject |
ความต้านทานไฟฟ้า |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Thailand -- Phetchaburi |
en_US |
dc.subject |
Seawater -- Thailand -- Phetchaburi |
en_US |
dc.subject |
Electric resistance |
en_US |
dc.title |
การประยุกต์เทคนิคการสำรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าเพื่อประเมินการรุกล้ำของน้ำทะเลในชั้นน้ำไร้แรงดัน อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี |
en_US |
dc.title.alternative |
Application of resistivity survey technique for evaluating saltwater intrusion in shallow unconfined coastal aquifers at Amphoe Cha-Am, Changwat Phetchaburi |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
lertc77@yahoo.com |
|
dc.email.advisor |
thanop.t@chula.ac.th |
|