dc.contributor.advisor |
สักกพัฒน์ งามเอก |
|
dc.contributor.advisor |
ทิพย์นภา หวนสุริยา |
|
dc.contributor.author |
จิรภัทร มิ่งวัน |
|
dc.contributor.author |
ชัญญาธิดา อารีสงเคราะห์กุล |
|
dc.contributor.author |
หทัยภัทร ฐิติกานต์สกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2017-11-27T08:00:54Z |
|
dc.date.available |
2017-11-27T08:00:54Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56103 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคและแรงจูงใจทางอาชีพต่อพฤติกรรมการพัฒนาตนเองในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานเอกชนจากบริษัทต่างๆ จำนวน 187 คน (ชาย 81 คน หญิง 103 คน) เก็บรวบรวมข้อมูล 2 วิธี ได้แก่ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามเขียนและแบบสอบถามออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายและวิธีการวิเคราะห์ตัวแปรกำกับ ผลการวิจัยพบว่าความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความเป็นอิทธิพลกำกับของแรงจูงใจทางอาชีพ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้พบข้อสังเกตที่น่าสนใจ คือ แรงจูงใจทางอาชีพมีความสามารถในการอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมายในระดับที่สูง และเมื่อเพิ่มแรงจูงใจทางอาชีพเข้ามาในการวิเคราะห์อิทธิพลทำนายของความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคต่อพฤติกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย พบว่าแรงจูงใจทางอาชีพและความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมายได้ร้อยละ 59.8 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This study aims to examine the relationship between adversity quotient and personal mastery behavior and the moderating role of career motivation on this relationship. The participants were 187 white-collar employees (81 males and 103 females) from several private companies located in Bangkok, Thailand. Data were collected via both paper-and-pencil and online channels. Results from a hierarchical regression analysis have showed that adversity quotient had a positive relationship with personal mastery behavior, but career motivation did not served as a moderator of this relationship. However, it has been found that career motivation can directly predict personal mastery behavior and explain its variance substantially above and beyond adversity quotient. Together, these two predictors explained 59.8 percent of the variance of personal mastery behavior. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความสนใจทางอาชีพ |
en_US |
dc.subject |
การจูงใจ (จิตวิทยา) |
en_US |
dc.subject |
Vocational interests |
en_US |
dc.subject |
Motivation (Psychology) |
en_US |
dc.title |
อิทธิพลของความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคต่อพฤติกรรมการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย โดยมีแรงจูงใจทางอาชีพเป็นตัวแปรกำกับ |
en_US |
dc.title.alternative |
EFFECT OF ADVERSITY QUOTIENT ON PERSONAL MASTERY BEHAVIOR WITH CAREER MOTIVATION AS A MODERATOR |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
sakkapat.N@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Thipnapa.H@chula.ac.th |
|