DSpace Repository

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในนักศึกษามหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.advisor เรวดี วัฒฑกโกศล
dc.contributor.author ศบงกช อุดมชัยพัฒนากิจ
dc.contributor.author สมิตา โรจนาบุตร
dc.contributor.author อาย์วิชยา พิพัฒน์ชลธี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2017-11-27T08:51:51Z
dc.date.available 2017-11-27T08:51:51Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56170
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อพฤติกรรม อิทธิพลของกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และความลำเอียงในแง่ดี กับพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน โดยกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง อายุระหว่าง 18-22 ปี จำนวน 209 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดเจตคติต่อพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกทางตรงและทางอ้อม มาตรวัดการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงทางตรงและทางอ้อมมาตรวัดการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมทางตรงและทางอ้อมมาตรวัดความลำเอียงในแง่ดีทางอ้อม และมาตรวัดพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเชิงขั้น(Hierarchical Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า เจตคติต่อพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก(r =.492,p<.01)การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง(r =.367,p<.01) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม(r =.690, p<.01) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกตามลำดับ ส่วนความลำเอียงในแง่ดีมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก(r =-.216, p< .01)ตัวแปรทุกตัวร่วมกันทำนายพฤติกรรมกับพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกได้ถึง 54.5 % โดยการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมมีน้ำหนักในการทำนายพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกได้มากที่สุด (β=.545, p<.01) en_US
dc.description.abstractalternative The present research aims to study the association between vaccination against cervical cancer and attitude toward the behavior, subjective norms, perceived behavioral control, and optimistic bias, based on the planned behavioral theory. Two hundred and nine female participants, between the ages of 18 and 22, were recruited. The research instruments were: attitude toward behavior scale, subjective norm scale, perceived behavioral control scale, optimistic bias scale, and behavioral intention scale. This research used hierarchical regression analysis to analyze the data. As predicted, the results suggested that attitude toward behavior(r =.492,p<.01), subjective norms (r =.367,p<.01) and perceived behavioral control (r =.690, p<.01) were positively correlated with vaccination against cervical cancer. As predicted, optimistic bias was negatively correlated with vaccination against cervical cancer (r =-.216, p< .01). It also showed that 54.5% of the variance in vaccination against cervical cancer was significantly accounted for by these predictors, in which perceived behavioral control was the strongest predictor (β =.545, p<.01). en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject มะเร็ง en_US
dc.subject การให้วัคซีน en_US
dc.subject จิตวิทยาวัยรุ่น en_US
dc.subject Cancer en_US
dc.subject Vaccination en_US
dc.subject Adolescent psychology en_US
dc.title ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในนักศึกษามหาวิทยาลัย en_US
dc.title.alternative FACTORS PREDICTING VACCINATION AGAINST CERVICAL CANCER AMONG UNIVERSITY STUDENTS en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Rewadee.W@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record