DSpace Repository

ความสัมพันธ์ทางลบระหว่างการติดอินเทอร์เน็ต กับความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเอง โดยมีการผูกตัวตนเข้ากับการเรียนรู้ทางวิชาการเป็นตัวแปรกำกับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สักกพัฒน์ งามเอก
dc.contributor.author ไกร ลักษณะพิศิษฐกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2017-11-28T02:21:16Z
dc.date.available 2017-11-28T02:21:16Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56475
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 en_US
dc.description.abstract โครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการติดอินเทอร์เน็ต กับความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเอง โดยมีการผูกตัวตนเข้ากับการ เรียนรู้ทางวิชาการเป็นตัวแปรกํากับในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีจำนวน 205 คน เป็นชาย 91 คน หญิง 114 คน ผลการวิเคราะห์พบว่า 1.การติดอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถทำนายความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองได้ใน กลุ่มตัวอย่างรวม (β =.27, p=.28) 2.การผูกตัวตนเข้ากับการเรียนรู้ทางวิชาการไม่ได้มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการติด อินเทอร์เน็ตและความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มตัวอย่างรวม (β=.005, p=.22) 3.การติดอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถทำนายความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองได้ใน เพศชาย (β =.12, p=.058) 4.พบว่า การผูกตัวตนเข้ากับการเรียนรู้ทางวิชาการไม่ได้มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการติด อินเทอร์เน็ตและความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในเพศชาย (β=-.005, p=.38) 5.การติดอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถทำนายความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองได้ในเพศหญิง (β =.003, p=.95) 6.การผูกตัวตนเข้ากับการเรียนรู้ทางวิชาการมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการติดอินเทอร์เน็ตและความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในเพศหญิง (β=-.018, p<.01) en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the moderating effect of identification with academics on the association between internet addiction and academic self-efficacy. Participants were 205 students (91 male, 112 female) aged 17 – 23 years in Bangkok. There were 3 measures: internet addiction, academic self-efficacy, identification with academics scale Results reveal that 1.Internet addiction does not predict academic self-efficacy (β =.27, p=.28). 2.Identification with academics does not moderate the relation between internet addiction and academic self-efficacy (β=.005, p=.22). 3.Internet addiction does not predict academic self-efficacy in male sample (β =.12, p=.058). 4.Identification with academics does not moderate the relation between internet addiction and academic self-efficacy in male sample (β=-.005, p=.38). 5.Internet addiction does not predict academic self-efficacy in female samples (β =.003, p=.95). 6.Identification with academics moderate the relation between internet addiction and academic self-efficacy in female sample (β=-.018, p<.01). en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject อินเทอร์เน็ต en_US
dc.subject ความสามารถในตนเอง en_US
dc.subject Internet en_US
dc.subject Self-efficacy en_US
dc.title ความสัมพันธ์ทางลบระหว่างการติดอินเทอร์เน็ต กับความเชื่อมั่นในความสามารถทางการเรียนของตนเอง โดยมีการผูกตัวตนเข้ากับการเรียนรู้ทางวิชาการเป็นตัวแปรกำกับ en_US
dc.title.alternative NEGATIVE RELATION BETWEEN INTERNET ADDICTION AND ACADEMIC SELF-EFFICACY WITH IDENTIFICATION WITH ACADEMICS AS A MODERATOR en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor sakkapat.N@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record