dc.contributor.author |
สุรีรัตน์ เดี่ยววาณิชย์ |
|
dc.contributor.author |
ชญานี อ๊อดทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
ธัญลักษณ์ ตะโกดี |
|
dc.contributor.author |
หนึ่งฤทัย วิชัยกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2017-11-28T06:13:22Z |
|
dc.date.available |
2017-11-28T06:13:22Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56485 |
|
dc.description.abstract |
โพรพอลิส (propolis) เป็นสารผสมที่มีลักษณะเป็นยางเหนียว ได้มาจากยางไม้ที่ผึ้งงานรวบรวมมาเพื่อใช้ป้องกันศัตรูพืชและเชื้อโรคภายในรัง การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากโพรพอลิสของชันโรง 2 ชนิด คือ Tetrigona apicalis และ Trigona thoracica จากจังหวัดกาญจนบุรี ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราก่อโรคผิวหนังในคน 4 ชนิด คือ Trichophyton rubrum, Trichophyton mentagrophytes, Microsporum canis และ Microsporum gypseum โดยสกัดโพรพอลิสด้วยน้ำกลั่นและ 95%, 70%, 40% และ 5% เอธิลแอลกอฮอล์ โดยสารสกัดหยาบจากโพรพอลิสของ Trigona thoracica คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ยีลด์ (percent yield) ได้ 47.45%, 55.12%, 6.00% และ 2.33% ตามลำดับ สำหรับโพรพอลิสที่สกัดด้วยน้ำกลั่นมีเชื้อราเกิดขึ้นจึงไม่นำมาทำการทดลองต่อ ส่วนสารสกัดจากโพรพอลิสของ Tetrigona apicalis ที่สกัดด้วย 95%, 70%, 40% และ 5% เอธิลแอลกอฮอล์ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ยีลด์ได้ 43.67%, 22.93%, 1.08% และ 3.08% ตามลำดับ จากนั้นนำสารสกัดโพรพอลิสที่ได้ไปละลายใน 1% Dimethylsulfoxide (DMSO) และ acetone (ในกรณีที่ไม่ละลายใน 1% DMSO) แล้วนำไปผสมลงในอาหารเลี้ยงเชื้อให้ได้ความเข้มข้นของสารสกัดที่ 64 mg/ml. และใช้ 1% DMSO และ acetone ผสมในอาหารเป็นชุดควบคุมในการเลี้ยงเชื้อ สำหรับผลการทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา พบว่าสารสกัดจากรัง T. thoracica สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ทุกชนิด ส่วนสารสกัดจากรัง T.apicalis สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ทุกชนิดยกเว้น T.mentagrophytes โดยที่ผลการยับยั้งเชื้อราของโพรพอลิสทั้ง 2 ชนิด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Propolis is a resinous substance collected by honey bees from plants. It is used for colony protection from enemies and diseases. The aim of this study was to determine the antifungal activities of propolis extract from stingless bee (Tetrigona apicalis and Trigona thoracica) colonies on 4 kinds of cutaneous mycoses in human (Trichophyton rubrum, Trichophyton mentagrophytes, Microsporum canis and Microsporum gypseum). Propolis samples were collected from Kanchanaburi and extracted with distilled water and 95%, 70%, 40% and 5% ethyl alcohol. The percent yield of ethanol crude extract from Trigona thoracica were 47.45%, 55.12%, 6.00% and 2.33%, respectively. Yield of 95%, 70%, 40% and 5% etanol extracts from Tetrigona apicalis were 43.67%, 22.93%, 1.08% and 3.08% respectively. Then 64 mg/ml concentration of propolis extract was diluted with 1% DMSO and acetone (in case it could not dissolve in 1% DMSO) and mixed with PDA media. PDA mixed with 1% DMSO and acetone were used as a control group. The antifungal activities of propolis extract from T. apicalis can inhibit the growth of all cutaneous mycoses in human as same as T. Thoracica but except in T. mentagrophytes. The antifungal activities of 2 kinds of propolis extract not significantly different statistically. |
en_US |
dc.description.budget |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2555 |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2555 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ผึ้ง |
en_US |
dc.subject |
ชันโรง |
en_US |
dc.subject |
โพรพอลิส |
en_US |
dc.title |
ความหลากหลายของผึ้งและชันโรง และการนำมาใช้ประโยชน์ของโพรพอลิสจากรังผึ้งและชันโรงในพื้นที่ อพ.สธ : รายงานวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Diversity of honey bee and stingless bee and utilization of propolis from their nests in the RSPG area |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |