dc.contributor.advisor |
กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด |
|
dc.contributor.author |
ระพีภรณ์ เลิศวงศ์วีรชัย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2008-01-29T12:05:15Z |
|
dc.date.available |
2008-01-29T12:05:15Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.isbn |
9741720769 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5657 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
en |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาบทบาทของถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย ระหว่างปี ค.ศ. 1958-1971 ภายใต้บริบทของโครงสร้างอำนาจระหว่างประเทศที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นอภิมหาอำนาจในระบบทุนนิยมโลก (Pax Americana) ซึ่งต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ ในความขัดแย้งที่เรียกกันว่าสงครามเย็น จากการศึกษาพบว่า โครงสร้างอำนาจระหว่างประเทศที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นอภิมหาอำนาจในระบบทุนนิยมโลก (Pax Americana) มีอิทธิพลอย่างชัดเจนต่อนโยบายต่างประเทศของไทยผ่านถนัด คอมันตร์ ซึ่งเป็นตัวแสดงหลัก ระหว่างปี ค.ศ. 1958-1971 ถนัด คอมันตร์ ได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศด้านความมั่นคงไปตามโครงสร้าง Pax Americana ทั้งในการดำเนินนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในลาวและการสนับสนุนสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม รวมทั้งการดำเนินนโยบายสร้างความร่วมมือภายในภูมิภาคจนประสบความสำเร็จในการก่อตั้งองค์การอาเซียน ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง Pax Americana ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1968 เป็นต้นมา ถนัด คอมันตร์ ได้ปรับเปลี่ยนการดำเนินนโยบายของตนไปตามโครงสร้างอำนาจระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ด้วยการนำองค์การอาเซียนมาเป็นทางเลือกในการดำเนินนโยบายด้านความมั่นคงและดำเนินนโยบายปรับความสัมพันธ์กับจีนคอมมิวนิสต์ ซึ่งในท้ายที่สุด นโยบายปรับความสัมพันธ์กับจีนคอมมิวนิสต์ของถนัด คอมันตร์ ได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างถนัด คอมันตร์ กับผู้นำทหารไทยอันนำไปสู่การสิ้นสุดการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในปี ค.ศ. 1971 |
en |
dc.description.abstractalternative |
The main theme of this thesis is to study the role of Thanat Khoman, Thailand's Minister of Foreign Affairs, during 1958-1971 in the context of power structure of an international system in which the United States is positioned as a superpower. This structure, labelled as Pax Americana, promotes the capitalist economic system and politically antagonises the Communists in the conflict called the Cold War. The study finds that international power structure under the US supremacy of Pax Americana greatly influenced Thailand's foreign policy through Thanat Khoman, the key actor between 1958 and 1971. Thanat implemented foreign security policy according to Pax Americana's structure as illustrated by his opposition to the Communist regime in Laos and his faithful support of the American policy regarding the Vietnam War. This also included the policy of regional co-operation, which later developed into the establishment of ASEAN. After the change in the structure of Pax Americana since 1968, Thanat Khoman had also adjusted Thailand's foreign policy in accordance with this transformation. This was carried out by turing ASEAN into an alternative for Thailand's security policy. and nomalising diplomatic relationship with the People Replublic of China (PRC). The re-establishment of diplomatic relationship with the PRC under Thanat Khoman's decision eventually led to the conflict between him and millitary leaders, hence the ending of his position as the Minister of Foreign Affairs in 1971. |
en |
dc.format.extent |
1690167 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ถนัด คอมันตร์, พ.อ. |
en |
dc.subject |
ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- 2501-2514 |
en |
dc.title |
บทบาทของถนัด คอมันตร์กับการต่างประเทศของไทย ระหว่างปี ค.ศ. 1958-1971 |
en |
dc.title.alternative |
The role of Thanat Khoman in Thai foreign affairs during 1958-1971 |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Kullada.K@chula.ac.th |
|