dc.contributor.advisor |
สามารถ เจียสกุล |
|
dc.contributor.author |
ภาวิณี ธัญกานต์สกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2018-02-01T02:08:58Z |
|
dc.date.available |
2018-02-01T02:08:58Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56884 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
ศึกษาภาพรวมโครงสร้างตลาด พฤติกรรมการแข่งขัน รวมถึงศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ของธุรกิจโลจิสติกส์ของไทย โดยมีขอบเขตการศึกษาคือ ธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยที่ให้บริการงานทางด้านโลจิสติกส์ทั้ง 3 งาน ได้แก่ ด้านการขนส่งสินค้า ด้านการจัดเก็บดูแลและบริหารคลังสินค้าและการติดสลากหรือบรรจุภัณฑ์ ด้านการให้บริการพิธีการต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส์ จากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในเชิงปริมาณคือ การคำนวณค่าการกระจุกตัว โดยใช้อัตราส่วนการกระจุกตัว (Concentration ratio : CR) และดัชนีเฮร์ฟิลดัล (HerfindahI Summary Index : HSI) การวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา จะพิจารณาถึงพฤติกรรมการแข่งขันของธุรกิจโลจิสติกส์ของไทย และใช้ Porter's Diamond Model ในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการประเมินศักยภาพและผลการดำเนินงานในด้านต่างๆ โดยใช้แนวคิด Balanced scorecard (BSC) ตัวชี้วัด Key performance indicators (KPI) การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap analysis) และ General electric model (GE Model) ผลการศึกษาพบว่า ธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยนั้นมีการกระจุกตัวในระดับปานกลางค่อนข้างน้อย ส่งผลให้มีการแข่งขันกันค่อนข้างมาก และมีพฤติกรรมการแข่งขันทางด้านราคาสูง อีกทั้งอุปสรรคในการเข้า/ออกจากตลาดมีน้อย
จึงจัดได้ว่าธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยมีโครงสร้างตลาดแบบกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic competition) และแม้ว่าธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยนั้นจะมีความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน และการสนับสนุนจากภาครัฐแต่ยังคงขาดความพร้อมทางด้านการเงินทุน ด้านบุคลากรและด้านเทคโนโลยี รวมถึงศักยภาพของธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยที่มีศักยภาพค่อนข้างต่ำ เมื่อเทียบกับธุรกิจโลจิสติกส์ของต่างชาติ ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยควรเร่งพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น อีกทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุนธุรกิจที่ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ เพื่อที่จะสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้ และเพื่อพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาคอินโจีน (Logistics hub of Indo-China) อย่างมีประสิทธิภาพ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
To focus on an overall aspect of market structure, competition potentiality and competitiveness of logistics business in Thailand. The scope of this study is a logistics business in Thailand which operates in freight transportation and forwarding, warehousing/inventory management/packaging and non-asset based logistics services. The business's competition was analyzed by using the qualitative method of concentration ratio (CR) and Herfindahl Summary Index (HSI). For analyze the business's competition based on Porter's Diamond Model and balanced scorecard (BSC) to increase an opportunity of competitiveness. Then use gap analysis and general electric model (GE model) to analyze potential position of logistics business in Thailand. The output of market structure study show that the concentration level of logistics business in Thailand is quite high leading to a high competition in business and pricing competition. Furthermore, it's easy to enter or leave the market, thus the market structure of logistics business in Thailand is monopolistic competition. Although Thailand has advantages of the infrastructure and government support but lack of capital investment, human resources and technology causes low potentiality of logistics business in Thailand. With the mentioned potential, the logistics business in Thailand should be developed with more support of logistic providers from the government in order to compete with the logistics business in other countries leading Thailand to become a logistics hub of Indo-China. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.373 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การบริหารงานโลจิสติกส์ -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
โครงสร้างตลาด |
en_US |
dc.subject |
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม |
en_US |
dc.subject |
การแข่งขันทางการค้า |
en_US |
dc.subject |
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด |
en_US |
dc.subject |
Business logistics -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Industrial organization (Economic theory) |
en_US |
dc.subject |
Competition |
en_US |
dc.subject |
Monopolistic competition |
en_US |
dc.title |
การศึกษาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
Potentiality and competitiveness of the logistics business in Thailand |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Samart.C@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.373 |
|