dc.contributor.advisor |
กาญจนา แก้วเทพ |
|
dc.contributor.author |
วรรณวิมล หุตินทรวงศ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
สมุทรสงคราม |
|
dc.coverage.spatial |
อัมพวา (สมุทรสงคราม) |
|
dc.date.accessioned |
2018-02-02T03:49:40Z |
|
dc.date.available |
2018-02-02T03:49:40Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56897 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนปลายโพงพาง และบทบาทของผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนปลายโพงพาง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกประกอบด้วย ผู้นำชุมชน สมาชิกในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ และสมาชิกผู้อาศัยอยู่ในชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 11 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการสื่อสารปรากฏขึ้นในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนปลายโพงพาง โดยวิเคราะห์จาก 3 สถานการณ์ พบว่า 1.1 สถานการณ์กระตุ้นความร่วมมือสมาชิกในชุมชน ประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ 1) การสื่อสารทางเดียวแบบไม่เป็นทางการ คือ การใช้เสียงตามสาย 2) การสื่อสารสองทางแบบเป็นทางการ คือ การประชุม 3) การสื่อสารสองทางแบบไม่เป็นทางการ คือ การพูดคุยกันโดยตรง และการโทรศัพท์ 1.2 สถานการณ์การจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน ประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ 1) การสื่อสารสองทางแบบเป็นทางการ คือ การประชุม 2) การสื่อสารทางแบบไม่เป็นทางการ คือ การพูดคุยโดยตรง และการโทรศัพท์ 3) การสื่อสารทางเดียวแบบเป็นทางการ คือ การใช้เอกสารและป้ายประกาศ 1.3 สถานการณ์แก้ปัญหาข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในชุมชน ประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ
1) การสื่อสารสองทางแบบเป็นทางการ คือ การประชุมเพื่อสั่งการ 2) การสื่อสารสองทางแบบไม่เป็นทางการ คือ การพูดคุยโดยตรงเพื่อคลี่คลายปัญหา 3) การสื่อสารทางเดียวแบบไม่เป็นทางการ คือ การใช้เสียงตามสายเพื่อขอความร่วมมือ 2. บทบาทของผู้นำชุมชน ประกอบด้วย 4 บทบาท คือ 1) บทบาทในการิเริ่มก่อตั้งโครงการ 2) บทบาทในการระดมและกระตุ้นความร่วมมือของสมาชิกในชุมชน 3) บทบาทในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน 4) บทบาทในการแก้ปัญหาข้อขัดแย้งภายในชุมชน คือ ตักเตือน ประชุม สั่งห้าม ประกาศเสียงตามสาย และพูดคุยโดยตรง |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this qualitative research are to study communication patterns for home-stay ecotourism management at Plypongpang community and roles of community leader on the home-stay ecotourism management at Plypongpang community by the methods of nonparticipating investigations, participating investigations, and in-depth interviews of community leader, as well as participating members and nonparticipating members of the community which made up of altogether 11 people. The research findings are 1. By analyzing 3 events, communication patterns are found to happen in home-stay ecotourism management Plypongpang community 1.1 Event that stimulates local members’ co-operation consists of 3 communication patterns: 1) informal one-way communication by means of public address system 2) formal two-way communication by means of arranging meetings 3) informal two-way communication by means of face-to-face conversation and telephone call 1.2 Home-stay ecotourism management event at the community consists of 3 communication patterns: 1) formal two-way communication by means of arranging meetings 2) informal two-way communication by means of face-to-face conversation and telephone call 3) formal one-way communication by means of specialized media 1.3 Event that eases conflicts in the community consists of 3 communication patterns: 1) formal two-way communication by means of arranging meetings to leave orders 2) informal two-way communication by means of by direct mediation 3) informal one-way communication by means of public address system 2. roles of community leader consists of 4 aspects: 1) roles to form this project 2) roles to gather members of community 3) roles on home-stay ecotourism management 4) roles to cope with conflicts in the terms of warning, meeting, giving orders, announcing by public address system, and face-to-face conversation. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2023 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- สมุทรสงคราม |
en_US |
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- อัมพวา (สมุทรสงคราม) |
en_US |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- สมุทรสงคราม -- การจัดการ |
en_US |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- อัมพวา (สมุทรสงคราม) -- การจัดการ |
en_US |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ระบบสื่อสาร |
en_US |
dc.subject |
การสื่อสารในการจัดการ |
en_US |
dc.subject |
การสื่อสารในการพัฒนาชนบท -- ไทย -- สมุทรสงคราม |
en_US |
dc.subject |
การสื่อสารในการพัฒนาชนบท -- ไทย -- อัมพวา (สมุทรสงคราม) |
en_US |
dc.subject |
Ecotourism -- Thailand -- Samut Songkhram |
en_US |
dc.subject |
Ecotourism -- Thailand -- Amphawa (Samut Songkhram) |
en_US |
dc.subject |
Tourism -- Thailand -- Samut Songkhram -- Management |
en_US |
dc.subject |
Tourism -- Thailand -- Amphawa (Samut Songkhram) -- Management |
en_US |
dc.subject |
Tourism -- Communication systems |
en_US |
dc.subject |
Communication in management |
en_US |
dc.subject |
Communication in rural development -- Thailand -- Samut Songkhram |
en_US |
dc.subject |
Communication in rural development -- Thailand -- Amphawa (Samut Songkhram) |
en_US |
dc.title |
การสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบโฮมสเตย์ของชุมชนปลายโพงพาง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม |
en_US |
dc.title.alternative |
Communication for home-stay ecotourism management of Plypongpang community, Amphoe Amphawa, Samut Songkhram Province |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
นิเทศศาสตรพัฒนาการ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Kanjana.Ka@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.2023 |
|