dc.contributor.advisor |
สมบุญ จารุเกษมทวี |
|
dc.contributor.author |
เอื้อจิต พูนพนิช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2018-04-11T01:35:01Z |
|
dc.date.available |
2018-04-11T01:35:01Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58265 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการรับรู้ความสามารถในการเป็นบิดามารดา ในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ของบิดามารดาในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของบุตรออทิสติกกับปัญหาทางจิตใจของบิดามารดา โดยผู้เข้าร่วมการวิจัยคือ บิดาและมารดา จำนวน 119 คน (มารดา 83.2%) ที่มีบุตรเป็นออทิสติกอายุระหว่าง 3-12 ปี (อายุเฉลี่ย 7.08 ปี, เพศชาย 81.5%) และเป็นผู้ดูแลหลัก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) มาตรวัดปัญหาทางจิตใจของบิดามารดา (ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียด) 2) มาตรวัดการรับรู้ของบิดามารดาในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของบุตรออทิสติก และ 3) มาตรวัดการรับรู้ความสามารถในการเป็นบิดามารดา ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS และ PROCESS ในการวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่านอย่างง่าย (Simple Mediation Analysis) โดยผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถในการเป็นบิดามารดาเป็นตัวแปรส่งผ่าน ระหว่างความสัมพันธ์ของการรับรู้ของบิดามารดาในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของบุตรออทิสติกกับปัญหาทางจิตใจของบิดามารดา (b = 0.13, 95% Cl [0.002, 0.388]) นักจิตวิทยาและบุคลากรด้านการศึกษาพิเศษหรือสุขภาพจิตสามารถนำองค์ความรู้จากผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการสร้างโปรแกรมให้ความช่วยเหลือแก่บิดามารดาที่มีบุตรออทิสติก โดยมุ่งเน้นไปที่การรับรู้ความสามารถในการเป็นบิดามารดาเพื่อป้องกันและลดแนวโน้มในการเกิดปัญหาทางจิตใจ |
|
dc.description.abstractalternative |
The present study aimed to examine the mediating role of parental self-efficacy in the relationship between parental perception of autistic child problem behaviors and parental psychological distress. Participants were 119 parents (mothers 83.2%) who were the main caregivers of children diagnosed with autism. The children were between 3-12 years old (M age = 7.08 years old, boys 81.5%). Instruments included 1) Depression Anxiety Stress Scales, 2) Autism Spectrum Disorder–Behavior Problems for Children Scale, and 3) Parenting Sense of Competence Scale (i.e. Parental Self-efficacy Subscale). Data were analyzed using SPSS and PROCESS. Findings indicated that parental self-efficacy mediated the association between parental perception of autistic child problem behaviors and parental psychological distress (b = 0.13, 95% Cl [0.002, 0.388]). Findings suggest that psychologists, mental health workers, and special education workers can enhance parental self-efficacy as a method for preventing and reducing psychological distress of parents with autistic children. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.794 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
บิดามารดาและบุตร |
|
dc.subject |
เด็กออทิสติก |
|
dc.subject |
Parent and child |
|
dc.subject |
Autistic children |
|
dc.title |
บทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการรับรู้ความสามารถในการเป็นบิดามารดาในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ของบิดามารดาในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของบุตรออทิสติกกับปัญหาทางจิตใจของบิดามารดา |
|
dc.title.alternative |
The mediating role of parental self-efficacy in the relationship between parental perception of autistic child problem behaviors and parental psychological distress |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
จิตวิทยา |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Somboon.J@Chula.ac.th,somboon.kla@gmail.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2017.794 |
|