dc.contributor.author |
ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ |
|
dc.contributor.author |
นันทวัน หัตถมาศ |
|
dc.contributor.author |
ปาลิตา แปวไธสง |
|
dc.contributor.author |
มัลลิกา แก้วดี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-04-20T09:16:12Z |
|
dc.date.available |
2018-04-20T09:16:12Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58553 |
|
dc.description.abstract |
ได้พัฒนาระบบห้องปฏิบัติการสมบูรณ์ที่เป็นนวัตกรรมที่เรียกว่า micro total analysis system (µ-TAS) หรือ Lab-on-a-chip เพื่อใช้ในการตรวจวิเคราะห์และรับรองคุณภาพของอาหารด้วยดีเอ็นเอตัวชิปประกอบไปด้วยส่วนทำปฏิกิริยาสำหรับการสกัดดีเอ็นเอและเพิ่มปริมาณ ส่วนช่องสารเคมีขนาดเล็ก สำหรับให้สารเคมีและตัวอย่างเข้าและออกจากระบบ ปริมาตรของส่วนทำปฏิกิริยา มีขนาด 7 ไมโครลิตร ดีเอ็นเอจะถูกตรึงไว้ในส่วนต้นของส่วนทำปฏิกิริยาด้วยสนามแม่เหล็ก การสกัดดีเอ็นเอจากอาหารอย่างรวดเร็วทำโดยการใช้สารละลายความเข้มข้นของเกลือ chaotopic สูง ควบคู่กับ silicon oxide resin ให้จับอยู่ในส่วนปฏิกิริยา ขณะเดียวกันดีเอ็นเอที่สกัดได้จะเพิ่มปริมาณในทันทีหลังเสร็จขึ้นตอนการสกัดและชะออกโดยการเพิ่มปริมาณด้วยระบบการเพิ่มปริมาณอุณหภูมิระนาบเดี่ยว โดยไพรเมอร์ที่จำเพาะต่อ 6 บริเวณของยีนเป้าหมาย การตรวจสอบผลทำโดยการตรวจสัญญาณเรืองแสงด้วยตาเปล่า กระบวนการทั้งหมดเสร็จสิ้นได้ใน 60 นาที การทดสอบบนชิปโดยใช้ระบบการตรวจการปนของปลาปักเป้าที่พัฒนาขึ้นในครั้งนี้เช่นกัน แสดงให้เห็นว่า วิธีมีความไวโดยมี Limit of detection อยู่ที่ 100 ก๊อปปี้ของดีเอ็นเอ ปฏิกิริยาไม่พบการทำปฏิกิริยากับตัวอย่างดีเอ็นเออื่น ตัวชิปที่รายงานในครั้งนี้เป็นโมเดลที่ช่วยให้การตรวจดีเอ็นเอทำได้ในภาคสนาม เนื่องจากไม่ต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Novel complete laboratory system namely micro total analysis system (µ-TAS) or lab-on-a-chip for analysis without depending on laboratory facilities were developed for food safety and quality assurance based on DNA detection. The chip was composed of a reaction zone for DNA extraction and amplification and microchannels for the inlet and the outlet of the reagents and sample. The volume of the reaction zone was about 7 µ1. Trapping of DNA was by magnetic field set at the fore part of te reaction zone. Rapid DNA extraction from food matrix was performed based on chaotropic effect of silicon oxide resin trapped at chip’s reaction zone, where DNA was simultaneously amplified using isothermal reaction with highly specific primers to six domains of each target gene simultaneously upon elution. Resulting fluorescence signals of the DNA was detected visually. All processes were completed within 60 min. The testing on this chip using pufferfish detection limit at 100 copies of DNA/reaction. No cross-reactivity was observed from the samples of other unrelated species. The chip reported here provided a rapid yet simple test model for major DNA analysis suitable for field monitoring due to the ease of operation without requirement of laboratory equipments. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2552 ภายใต้โครงการนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารสู่โครงสร้างเศรษฐกิจยุคใหม่และเป็นปีที่ 3 ของโครงการ |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ดีเอ็นเอ |
en_US |
dc.subject |
อาหารแปรรูป |
en_US |
dc.subject |
อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ |
en_US |
dc.subject |
เคมีไฟฟ้า |
en_US |
dc.title |
โครงการวิจัยเรื่องโมเลกุลดีเอ็นเอเพื่อการพัฒนาการวิเคราะห์คุณภาพและความปลอดภัยแนวใหม่ในวัตถุดิบและอาหารแปรรูป : รายงานการวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
DNA molecule for novel development in quality and safety analysis of raw materials and processed foods |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
Piyasak.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|