dc.contributor.advisor |
พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม |
|
dc.contributor.author |
ศันศนีย์ แซ่เบ๊ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2018-05-02T02:23:35Z |
|
dc.date.available |
2018-05-02T02:23:35Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58647 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อทดสอบว่าหากนำกฎของเทย์เลอร์ (Taylor rules) มาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีการคาดการณ์ (Expectations theory) แล้วจะสามารถอธิบายโครงสร้างอัตราผลตอบแทนตามระยะเวลาไถ่ถอนหลักทรัพย์ (Term structure of Interest rates) ได้ดียิ่งขึ้นหรือไม่ ดังนั้น เพื่อที่จะตอบคำถามดังกล่าวงานวิจัยชิ้นนี้จึงต้องแบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนแรกจะเป็นการทดสอบทฤษฎีการคาดการณ์ ส่วนที่สองเป็นการวิเคราะห์หาแบบจำลองที่เหมาะสมเมื่อนำข้อมูลของประเทศไทยมาใช้ในการศึกษา และส่วนที่สามเป็นการประมาณค่าแบบจำลองที่ได้จากส่วนที่ 2 ด้วยวิธี Rolling VAR และทดสอบการนำกฎของเทเลอร์มาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีคาดการณ์เพื่อใช้ในการอธิบายโครงสร้างอัตราผลตอบแทนตามระยะเวลาไถ่ถอนหลักทรัพย์ของประเทศไทยโดยการใช้วิธีดำเนินการจำลองแบบปัญหาชนิดไม่แน่นอน (Stochastic dynamic simulation) ด้วยการประยุกต์กระบวนการของ Carlo A. Favero (2005) โดยข้อมูลที่นำมาใช้ทดสอบจะเป็นข้อมูลทุติยภูมิรายเดือนตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2543 ถึงมิถุนายน พ.ศ.2551 อันได้แก่ อัตราผลตอบแทนเมื่อครบกำหนดเวลา (yield to maturity) ณ ช่วงเวลาต่างๆของพันธบัตรรัฐบาล , อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP14 และ RP1) อัตราเงินเฟ้อ (inflation rate) และ ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ผลการศึกษาพบว่าเราไม่สามารถอธิบายลักษณะโครงสร้างอัตราผลตอบแทนตามระยะเวลาไถ่ถอนหลักทรัพย์ได้โดยอาศัยเพียงทฤษฎีการคาดการณ์เพียงทฤษฎีเดียว แต่หากนำกฎของเทย์เลอร์มาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีการคาดการณ์ตามวิธีการของ Favero จะสามารถอธิบายโครงสร้างอัตราผลตอบแทนตามระยะเวลาไถ่ถอนหลักทรัพย์ของประเทศไทยได้ดียิ่งขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The main purpose of this paper is to test whether combining the Taylor rules and Expectations theory then will generate a more accurate Term structure of Interest rates. To answer this question, the paper separated into 3 parts : First, test Expectations theory. Second, find the optimal model when used Thailand data. Third, estimate the model from the second part and test whether combining the Taylor rules and Expectations theory for generate a Term structure of Interest rates in Thailand by stochastic simulation method followed the procedure of Carlo A. Favero (2005). The data are government bond yield to maturity, Policy rate (RP14 and RP1), inflation rate and GDP for Thailand over July 2000 – December 2007, which are in monthly frequency. The result shows that we can not explain the Term structure of Interest rates in Thailand by using only Expectations theory is insufficient whereas combining the Taylor rules and Expectations theory follow the Favero’s procedure is more accurate. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.19 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
กฎของเทย์เลอร์ |
en_US |
dc.subject |
นโยบายการเงิน -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
en_US |
dc.subject |
อัตราดอกเบี้ย -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
Taylor's rule |
en_US |
dc.subject |
Monetary policy -- Mathematical models |
en_US |
dc.subject |
Interest rates -- Thailand |
en_US |
dc.title |
กฎของเทย์เลอร์และโครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยในประเทศไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
Taylor Rules and the Term Sructure of Interest Rates in Thailand |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Pongsak.L@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2008.19 |
|