dc.contributor.advisor |
อัญชนา พานิชอัตรา |
|
dc.contributor.author |
ปุณยวีร์ วีระโสภณ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-06-21T08:11:28Z |
|
dc.date.available |
2018-06-21T08:11:28Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59163 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและคุณสมบัติทางกายภาพของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยที่มีบิสมัตออกไซด์เมื่อผสมกับแคลเซียมคลอไรด์และเมททิลเซลลูโลส เปรียบเทียบกับ พอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่มีบิสมัตออกไซด์ผสมด้วยน้ำกลั่น และ ไวท์โปรรูทเอ็มทีเอผสมด้วยน้ำกลั่น เตรียมพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยจากสองบริษัทที่มีบิสมัตออกไซด์ผสมด้วยน้ำกลั่นหรือของเหลวที่มีสารเร่งการแข็งตัวและไวท์โปรรูทเอ็มทีเอผสมด้วยน้ำกลั่น อย่างละ 10 ตัวอย่าง ตรวจสอบองค์ประกอบทางเคมีด้วยการวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์และศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนชนิดส่องกราด วัดความเป็นกรดด่าง ระยะเวลาแข็งตัว ความทึบรังสี ความทนแรงอัด และสภาพละลายได้ วิเคราะห์ผลการทดลองด้วยสถิติความแปรปรวนแบบทางเดียว (p < 0.05) ซีเมนต์ทุกกลุ่มมีองค์ประกอบทางเคมีคล้ายคลึงกัน ยกเว้นไวท์โปรรูทเอ็มทีเอที่พบอนุภาคของแคลเซียม ไฮดรอกไซด์ ไวท์โปรรูทเอ็มทีเอมีความเป็นด่างสูงที่สุด (12.07) เมื่อซีเมนต์แข็งตัวเต็มที่ ซีเมนต์ที่ผสมด้วยสารเร่งเวลาแข็งตัวจะมีเวลาการแข็งตัวที่สั้นกว่า แต่มีความทนแรงอัดที่ 21 วันสูงกว่าซีเมนต์กลุ่มที่ผสมน้ำกลั่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซีเมนต์ที่ผสมด้วยสารเร่งเวลาแข็งตัวมีสภาพละลายได้มากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในวันแรก แต่เมื่อผ่านไป 21 วัน ซีเมนต์ทุก กลุ่มมีสภาพละลายได้ไม่แตกต่างกัน พอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยที่มีบิสมัตออกไซด์เมื่อผสมด้วยสารเร่งเวลาแข็งตัวมีคุณสมบัติทางกายภาพโดยรวมที่ดี และมีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเพื่อใช้เป็นวัสดุอุดย้อนปลายรากได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to investigate the chemical composition and physical properties of Thai white Portland cement with bismuth oxide mixing with calcium chloride and methyl cellulose compared to Thai white Portland cement with bismuth oxide when mixed with sterile water and white ProRoot® MTA mixed with sterile water. Ten samples of two manufacturers of Thai white Portland cement with bismuth oxide mixed with sterile water or liquid with additive and white ProRoot® MTA mixed with sterile water were prepared. Chemical composition and morphological characteristic was analyzed. The pH, setting time, radiopacity, compressive strength and solubility were tested. The results were analyzed with one-way ANOVA at 0.05 level of confidence. The results show that all cement types have the similar chemical composition except white ProRoot® MTA which contains calcium hydroxide. White ProRoot® MTA showed the highest pH (12.07) when cements were fully set. The setting time of Portland cement mixed liquid with additive was statistically significant shorter but higher compressive strength at 21 days when compared to the cements mixed with sterile water. Cements mixed with liquid with additive have the statistically significant higher solubility in the first day but not different after 21 days. Thai white Portland cements with bismuth oxide mixing with liquid with additive have good physical properties and have potential to be developed as a root-end filling material. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2137 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ |
en_US |
dc.subject |
บิสมัธ |
en_US |
dc.subject |
แคลเซียมคลอไรด์ |
en_US |
dc.subject |
Portland cement |
en_US |
dc.subject |
Bismuth |
en_US |
dc.subject |
Calcium chloride |
en_US |
dc.title |
องค์ประกอบทางเคมีและคุณสมบัติทางกายภาพของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยที่มีบิสมัตออกไซด์เมื่อผสมด้วยแคลเซียมคลอไรด์และเมททิลเซลลูโลส |
en_US |
dc.title.alternative |
Chemical composition and physical properties of Thai white portland cements and bismuth oxide mixed with calcium chloride and methyl cellulose |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
วิทยาเอ็นโดดอนต์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Anchana.P@Chula.ac.th |
|
dc.description.publication |
แฟ้มข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ชื่อเรื่องนี้เป็นแฟ้มข้อมูลของนิสิตเจ้าของวิทยานิพนธ์ที่ส่งผ่านทางบัณฑิตวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2009.2137 |
|