dc.contributor.advisor |
วชิระ บุณยเนตร |
|
dc.contributor.author |
สาวิตรี อ่องธรรมกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
|
dc.date.accessioned |
2006-06-29T10:07:52Z |
|
dc.date.available |
2006-06-29T10:07:52Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.isbn |
9741758979 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/598 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
en |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างของความคาดหวังที่มีต่อการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีกับผู้ใช้งบการเงิน ซึ่งได้แก่ นักลงทุน ที่ปรึกษาทางการเงิน และสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ โดยแบ่งประเด็นพิจารณาเป็น 4 ลักษณะ ได้แก่ บทบาทการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี ความเข้าใจและความเชื่อถือได้ใน รายงานการสอบบัญชีความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีในกรณีที่ถูกฟ้องร้องและศึกษาแนวทางในการลดความแตกต่างของความคาดหวังที่มีต่อการสอบบัญชี การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามชนิดเดียวกันในการสำรวจความเห็นของแต่ละกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 3 แบบ ได้แก่ การใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติอ้างอิง (Kruskal-Wallis H Test และ Mann-Whitney U Test) และการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยสัมบูรณ์ (Absolute value) การวิเคราะห์ข้อมูลทั้ง 3 แบบให้ผลสรุปไปในทางเดียวกัน พบว่า ความคาดหวังของผู้ใช้งบการเงินแตกต่างจากผู้สอบบัญชี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ประเด็นที่มีความแตกต่างสูงสุด คือ ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีในกรณีที่ให้ความเห็นในรายงานการสอบบัญชีผิดพลาด ส่วนแนวทางในการลดความแตกต่างของความคาดหวังที่มีต่อการสอบบัญชีนั้นผู้ใช้งบการเงินเสนอแนะให้ใช้วิธีการเผยแพร่มาตรฐานการสอบบัญชีทางอินเตอร์เน็ต และปรับปรุงรายงานการสอบบัญชีให้เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมที่สามารถลดความแตกต่างของความคาดหวังได้ |
en |
dc.description.abstractalternative |
The thesis aims to study the expectation gap among auditors and users (investors, financial advisors and credit analysts) toward auditing. Four aspects including the roles of auditors, understandability and reliability of audit reports, auditors' independence and auditors' legal liability are investigated. The study also focuses on how to reduce expectation gap between auditors and users. Descriptive statistics, inferential statistics (Kruskal-Wallis H Test and Mann-Whitney U Test) and absolute value of means are employed in the analysis. The three different analysis results in very similar findings. It is found that expectation gap exits among auditors and users, mostly between auditors and credit analysts. In addition, users tend to expect auditors to take more responsibility when wrong opinions are expressed. Finally, to reduce the expectation gap, auditing standards should be more publicized and using simple words in audit reports should be more beneficial to users. |
en |
dc.format.extent |
2095151 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.528 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การสอบบัญชี--ไทย |
en |
dc.subject |
ผู้สอบบัญชี |
en |
dc.title |
ความคาดหวังที่มีต่อการสอบบัญชีในประเทศไทย |
en |
dc.title.alternative |
Audit expectation in Thailand |
en |
dc.type |
Thesis |
en |
dc.degree.name |
บัญชีมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
การบัญชี |
en |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
wachira@acc.chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2004.528 |
|