dc.contributor.author |
เผด็จ สิริยะเสถียร |
|
dc.contributor.author |
อุษาวดี ถาวระ |
|
dc.contributor.author |
อภิวัฏ ธวัชสิน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-10-02T02:25:39Z |
|
dc.date.available |
2018-10-02T02:25:39Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60358 |
|
dc.description.abstract |
การสำรวจแมลงวันหัวเขียวใน 6 จังหวัดของประเทศได้แก่ กรุงเทพมหานคร, พิษณุโลก, เชียงใหม่, ตาก, ชุมพร และบุรีรัมย์ การศึกษาทางสัณฐานวิทยาพบเป็นแมลงวันหัวเขียว ชนิด Chrysomya megacephala, Chrysomya rufifacies และ Lucilia cuprina และการศึกษาทางอณูชีววิทยาของยีน cytochrome oxidase ช่วยยืนยันว่าเป็น 3 species นี้ นอกจากนี้การใช้เทคนิค Reaction-Restriction Fragment Length Polymorphism (PCR-RFLP) ยังสามารถช่วยจำแนกแมลงวันหัวเขียวทั้ง 3 ชนิดนี้ได้ PCR ให้ผลผลิต 1324 เบส ในแมลงวันหัวเขียวทั้ง 3 ชนิด การย่อยผลิตภัณฑ์ PCR ด้วย Taqᵅ I and VspI ให้รูปแบบที่จำเพาะในแมลงวันหัวเขียวแต่ละชนิด ประโยชน์ของการใช้เทคนิค PCR-RFLP นี้นอกจากจะช่วยในการสำรวจแมลงวันหัวเขียวง่ายขึ้นแล้วยังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางนิติกีฎวิทยาอีกด้วย ได้แก่การนำมาใช้ประมาณเวลาตาย (post mortem interval (PMI) ส่วน Lucillia sericata ไม่สามารถพบได้จากการศึกษาครั้งนี้ อย่างไรก็ตามได้ทำการทดลองเลี้ยงแมลงวันหัวเขียว Chrysomya megacephala ด้วยอาหารเทียม พบว่าหนอนแมลงวัน Chrysomya megacephala สามารถเจริญในอาหารเทียมได้และไม่พบแบคทีเรียเจริญในอาหารเทียมนี้ และหนอนแมลงวันหัวเขียวสามารถเจริญจนเข้าสู่ระยะดักแด้ได้ แสดงว่าอาหารเทียมที่ใช้ในการทดลองนี้เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงหนอนแมลงวันหัวเขียว |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Blow fly surveillance was perfonned in 6 provinces of Thailand including Bangkok, Phitsanulok, Chiang-Mai, Tak, Chumphon and Buri-Ram. Chrysomya megacephala, Chrysomya rufifacies and Lucilia cuprina were identified morphologically. Molecular studies of the cytochrome oxidase gene were con finned the identification. PCR-RFLP also assist to identification of these three blow fly species, The PCR yields a single 1,324 bp-sized amplicon in all blowfly specimens, followed by direct DNA sequencing. Taqa I and VspI predicted from the sequencing data provide different RFLP profiles among these three species. Other benefit of the study is used for forensic entomology, in order to estimation post mortem interval (PMI). Lucillia sericata was not collected from this study, however we were able to establish system to maintain sterile Chrysomya megacephala instead. Artificial media was tested to maintain complete cycle of Chrysomya megacephala and no bacteria was detected, therefore the artificial media prepared from this study is suitable for maintaining blowfly larvae. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2552 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
บาดแผลและบาดเจ็บ -- การรักษา |
en_US |
dc.subject |
หนอนแมลง -- การใช้รักษา |
en_US |
dc.subject |
หนอนแมลง -- แง่อนามัย |
en_US |
dc.subject |
แมลงวันหัวเขียว -- การใช้รักษา |
en_US |
dc.subject |
แมลงวันหัวเขียว -- แง่อนามัย |
en_US |
dc.subject |
Wounds and injuries -- Treatment |
en_US |
dc.subject |
Maggots -- Therapeutic use |
en_US |
dc.subject |
Maggots -- Health aspects |
en_US |
dc.subject |
Green-bottle flies -- Therapeutic use |
en_US |
dc.subject |
Green-bottle flies -- Health aspects |
en_US |
dc.title |
การก่อตั้งสายพันธุ์แมลงวันหัวเขียว (Lucilia sericata) เพื่อใช้สำหรับวิธีการรักษาแผลด้วยหนอนแมลงวัน : รายงานการวิจัย (ร่าง) |
en_US |
dc.title.alternative |
Establishment of greenbottle blowfly (Lucilia sericata) line for maggot debridement therapy |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
Padet.S@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|