DSpace Repository

รายงานการศึกษาประเมินศักยภาพช่องทางการค้าการขนส่งชายแดนไทย-พม่า

Show simple item record

dc.contributor.author สุมาลี สุขดานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันการขนส่ง
dc.coverage.spatial ไทย
dc.coverage.spatial พม่า
dc.date.accessioned 2018-10-04T04:10:34Z
dc.date.available 2018-10-04T04:10:34Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60380
dc.description.abstract โครงการศึกษาประเมินศักยภาพช่องทางการค้าการขนส่งชายแดนไทย–พม่า มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพช่องทางการค้าการขนส่งชายแดนไทย–พม่า การประเมินประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ การประเมินปัจจัยสนับสนุน ซึ่งเป็นการประเมินปัจจัยสภาพแวดล้อมช่องทางการค้า และการประเมินศักยภาพการค้า ซึ่งเป็นการประเมินปัจจัยด้านการตอบสนองทางการค้า ซึ่งสามารถประเมินได้ครบทั้ง 2 ส่วน เพียง 10 ช่องทางเท่านั้น ส่วนอีก 8 ช่องทางไม่สามารถประเมินศักยภาพการค้าได้ เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ ผลการประเมินช่องทางการค้าทั้งหมด 18 ช่องทาง พบว่าช่องทางการค้าประเภทจุดผ่านแดนถาวรส่วนใหญ่มีปัจจัยสนับสนุนและการตอบสนองต่อการค้าค่อนข้างสูง โดยจุดผ่านแดนถาวรสะพานข้ามแม่น้้าสาย ส้าหรับช่องทางการค้าประเภทจุดผ่อนปรนทั้งปัจจัยสนับสนุนและการตอบสนองทางการค้าอยู่ในระดับต่้า มีเพียงจุดผ่อนปรนด่านพระเจดีย์สามองค์เท่านั้นที่มีปัจจัยสนับสนุนและการตอบสนองการค้าอยู่ในระดับที่ดี เมื่อเปรียบเทียบจ้านวนจุดผ่านแดนถาวรตามแนวชายแดนไทย–พม่ากับความยาวเส้นแบ่งเขตแดนถือว่ามีจ้านวนน้อยมาก กล่าวคือ ตลอดแนวเส้นแบ่งเขตแดนไทย–พม่ามีความยาวถึง 2,401 กิโลเมตรมีจุดผ่านแดนถาวรเพียง 5 จุด ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการค้าชายแดนไทย–พม่ามีปริมาณเพื่อขึ้นร้อยละ 15 ต่อปี จ้านวนจุดผ่านแดนถาวรที่มีอยู่ไม่สามารถรองรับการค้าชายแดนที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ ดังนั้นจึงควรพัฒนาจุดผ่อนปรนที่มีศักยภาพ ได้แก่ จุดผ่อนปรนด่านพระเจดีย์สามองค์ จังหวัดกาญจนบุรี และจุดผ่อนปรนช่องทางกิ่วผาวอก จังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรเพื่อรองรับการค้าชายแดนที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศไทยยังคงความเป็นคู่ค้าที่ส้าคัญของพม่า en_US
dc.description.abstractalternative This research investigates the factors that affect the potential of the passes along Thai–Myanmarese border for cross–border trade and transport. It comprises the assessment of supporting factors which contribute to creating appropriate conditions for cross–border trade and transport and trading factors which directly contribute to trade supply and demand. Out of the eighteen passes, both assessments can be applied to only ten passes. The trade factor assessment cannot be applied to the other eight passes due to lack of data. The passes are divided into two groups: permanent crossing points and check points for border trade. The study result shows that most of the permanent crossing points have good supporting factors and high responsiveness to trade especially the Maesai permanent crossing point. Contrary to the former passes, most of the check points for border trade, except for the Three Pagoda Pass, have poor supporting factors and responsiveness of trade. When comparing the number of the permanent crossing points with the Thai– Myanmarese borderline, it is found that there are only five permanent crossing points along the two thousand–kilometer borderline. While over the past five years the cross–border trade between Thailand and Myanmar has increased about 15% a year, the existing number of permanent crossing points may not serve the growth of cross–border trade. Therefore, in order to maintain the status as the major trading partner of Myanmar, Thailand should improve the high potential checkpoints for border trade namely the Three Pagoda Pass in Kanchanaburi province and the Kiw Pha Wok Pass to be the permanent crossing points. en_US
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2557 en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การขนส่ง -- แง่เศรษฐกิจ en_US
dc.subject การขนส่ง -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย en_US
dc.subject การขนส่ง -- แง่เศรษฐกิจ -- พม่า en_US
dc.subject การค้าระหว่างประเทศ en_US
dc.subject ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ -- พม่า en_US
dc.subject Transportation -- Economic aspects en_US
dc.subject Transportation -- Economic aspects -- Thailand en_US
dc.subject Transportation -- Economic aspects -- Burma en_US
dc.subject International trade en_US
dc.subject Thailand -- Commerce -- Burma en_US
dc.title รายงานการศึกษาประเมินศักยภาพช่องทางการค้าการขนส่งชายแดนไทย-พม่า en_US
dc.title.alternative การศึกษาประเมินศักยภาพช่องทางการค้าการขนส่งชายแดนไทย–พม่า en_US
dc.title.alternative Assessment of the Potential of Passes along Thai–Myanmarese Border for Trade and Transport en_US
dc.type Technical Report en_US
dc.email.author Sumalee.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Merch - Research Reports [16]
    รายงานการวิจัยของสถาบันการขนส่ง

Show simple item record