dc.contributor.advisor |
ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
ยอดขวัญ สวัสดี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-01-10T06:38:10Z |
|
dc.date.available |
2019-01-10T06:38:10Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61136 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ด)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
en_US |
dc.description.abstract |
ปัจจุบันการเดินทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีประชากรต่างชาติต่างภาษาอาศัยอยู่หนาแน่น เนื่องจากเป็นพื้นที่ศูนย์รวมความเจริญในหลายๆ ด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ประกอบกับการขยายตัวของชุมชนเมืองเป็นไปอย่างรวดเร็ว ดังนั้นรัฐบาลจึงมีการวางนโยบายทางด้านการคมนาคมเพื่อรองรับปัญหาการจราจรดังกล่าว โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะและการเชื่อมต่อของการเดินทางที่มีประสิทธิภาพหน้าที่พื้นฐานของระบบป้ายสัญลักษณ์ คือการชี้บ่งประโยชน์ใช้สอยและนำทางยิ่งในสถานที่เป็น สถานที่สาธารณะ มีผู้ใช้งานต่างเพศต่างวัย ต่างการศึกษาต่างอาชีพ รวมถึงต่างภูมิลำเนา ยิ่งต้องมีการ ออกแบบที่ส่งเสริมการใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นระบบป้ายสัญลักษณ์จึงเป็นเส้นทางหนึ่งของการเชื่อมประสานทางกายภาพที่เปรียบเสมือนผู้ชี้นำเส้นทางต่างๆ ให้ไปถึงยังจุดมุ่งหมายเป็นการสื่อสารความสัมพันธ์ ระหว่างแผนที่ระบบ สัญลักษณ์ทางด้านการ ออกแบบใช้งาน เพื่อสร้างต้นแบบมาตรฐานการใช้ระบบป้ายสัญลักษณ์ในการเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนเข้าด้วยกัน นับเป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมทั้ง เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยสำหรับคนรุ่นหลังต่อไป ในการกำหนดแนวทางการออกแบบระบบป้ายสัญลักษณ์นั้น ประกอบไปด้วยแผนที่ ชุดภาพสัญลักษณ์ และป้าย โดยมีองค์ประกอบในงานป้ายสัญลักษณ์เป็นตัวกำหนด เช่นการกำหนดการใช้ชุดตัวอักษรทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การกำหนดชุดสีที่จะใช้กับเส้นทางชุดสัญลักษณ์ภาพ โดยมีงานออกแบบดังนี้ 1.สัญลักษณ์ภาพประกอบด้วยชุดสัญลักษณ์ภาพกลุ่ม A (แบบปกติ) และชุดสัญลักษณ์ภาพแบบกลุ่ม B (แบบเส้นกรอบ) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลเดียวกัน แต่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบทในการใช้งานวัสดุและการผลิตของระบบป้ายสัญลักษณ์ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน โดยชุดสัญลักษณ์ภาพทั้งหมด ประกอบด้วยสัญลักษณ์บอกทิศทาง จำนวน 8 ภาพ,สัญลักษณ์การให้บริการ จำนวน 6 ภาพ,สัญลักษณ์ประเภทระบบขนส่ง จำนวน 10 ภาพ,สัญลักษณ์บอกสถานที่สำคัญ จำนวน 10 ภาพ 2.ระบบกริดไอโซเมตริก ถูกนำมาใช้กับแผนที่เพื่อสร้างความรู้สึกและการรับรู้ที่เป็น 3 มิติ เส้นตรงแนวทิศเหนือ-ใต้ ถูกแทนที่ด้วย เส้นเอียง 30 องศา และเส้นตรงแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก ถูกแทนที่ด้วยเส้นเอียง-30 องศา เพื่อลดปัญหาการระบุชื่อสถานีบนเส้นแนวนอนที่ซ้อนทับกัน จะมีเพียงบางส่วนของสายสีแดงเข้มและสีเขียวเข้มที่ต้องใช้ชื่อสถานีเป็นตัวเอียง 3.แผนที่แสดงภาพรวมของเส้นทางระบบขนส่งมวลชนทางรางแต่ละสายที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา 4 ระบบคือ รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร รถไฟฟ้าชานเมือง และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อแสดงการเชื่อมต่อภายในและภายนอกระบบขนส่งมวลชนทางราง ได้แก่ สถานีขนส่ง/รถทัวร์ รถไฟ รถตู้ เรือด่วน รถไฟฟ้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แสดงตำแหน่งของสถานที่สำคัญหลักๆ ในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งตำแหน่งท่าอากาศยานและที่จอดรถสาธารณะทั้งนี้แผนที่ได้สร้างการรับรู้ในการเชื่อมต่อขึ้นมา 3 แบบได้แก่ วงกลมสีขาว () คือจุดเชื่อมต่อภายในระบบเดียวกัน เช่น ระหว่างสายสีเขียวอ่อนและสีเขียวเข้มซึ่งเป็นรถไฟฟ้า BTS วงกลมสีขาวเชื่อมกันคือจุดเชื่อมต่อระหว่างระบบที่ต่างกัน เช่น ระหว่างสายสีแดงเข้มและสีเขียวเข้ม ซึ่งเป็นรถไฟฟ้าชานเมืองและระบบไฟฟ้า BTS ตามลำดับ และการเชื่อมต่อกับระบบขนส่งอื่นๆ และสถานที่สำคัญโดยการวางสัญลักษณ์ภาพ นอกจากนี้ยังมีการอ้างอิงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ คือแม่น้ำเจ้าพระยา และระบุทิศทางในแผนที่อีกด้วย4.แสดงภาพการพัฒนางานออกแบบ ตั้งแต่การเลือกใช้ระบบกริดสำหรับแผนที่และสัญลักษณ์ภาพ จุดเชื่อมต่อ และส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบ รวมทั้งแบบตัวอักษรแผนภาพเส้นทางระบบขนส่งมวลชนทางรางแต่ละสายเป็นการนำเสนอข้อมูลที่เน้นเฉพาะสาย สำหรับใช้กับงานระบบป้ายสัญลักษณ์ที่อยู่ในระบบขนส่งสายนั้นๆ แผนภาพแสดงเส้นทางเหล่านี้ สามารถสร้างการรับรู้ในการเชื่อมกับระบบอื่น ๆ ให้แก่ผู้ที่อยู่ในระบบนั้นๆ ได้ โดยใช้วงกลมที่เป็นสีของระบบอื่นระบุตำแหน่งที่มีการเชื่อมต่อแผนภาพเส้นทางชนิดนี้ ยังเพิ่มพื้นที่ในการใส่ข้อมูลอื่นๆ เช่นสถานที่สำคัญ ที่จอดรถสาธารณะ สถานีขนส่ง ท่าเรือด่วน ฯลฯ ที่ละเอียดขึ้นจากแผนที่ภาพรวมอีกด้วยคู่มือแสดงให้เห็นส่วนประกอบของระบบป้ายสัญลักษณ์สำหรับระบบคมนาคมกรุงเทพมหานคร อันได้แก่ แผนที่ ระบบกริดของแผนที่ ระบบสี เส้นทางระบบขนส่งมวลชนทางรางแต่ละสาย แบบตัวอักษร ชุดสัญลักษณ์ภาพ เพื่อให้ผู้สนใจนำไปใช้งานหรือพัฒนาต่อ สามารถศึกษาส่วนประกอบต่างๆ เพิ่มเติมได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Bangkok Metropolitan Region or Greater Bangkok is the centre of country development on economics, social development, politics and administration. This mega city is very crowded with almost all nationality traffickers. It is expanding so rapidly that make the Thai government lay down traffic policy to focus on efficient public transportation system and the linkage between each connection.Main duty of signage system is to indicate the usage of each public transportation and give directions. This is very necessary when the traffickers are not only from different backgrounds, but also different in age, gender, educations and profession. Therefore, the signage system needs to be highly efficient. The signage system is the linkage to indicate directions, to lead people to their destinations. It creates relationship between traffic maps. This is the standard prototype to connect each public transportation for the benefit of public at large. Also, to be a starting idea for students of the next generation for further study. The design concept comprises of maps, pictograms and signs, these elements are controlled by sets of typography in Thai and English, sets of colour to be used with each sign etc.1.Pictogramscomprises of a set of symbols A (standard) and a set of symbols B(frame), although they are the same data set but can be used to fit with the context of materials and signage production according to the needs of users. They are consisted of;8 directional signage, 6 service indication signage,10 traffic signage, 10 symbol signage for landmark 2.Grid System Isometric grid are used together with map to create 3 dimensional communication techniques; the normal straight line to indicate north-south and east-west are replaced by tilted 30 degrees to decrease confusion of overlapping of horizontal lines. Only some station names of dark red line and dark green line are in declined form.3.The Map indicates overall view of rail mass transportation are selected for case study, they are; the BTS skytrain, MRTA, The Metro Suburban Train and the Airport Rail Link. These systems exhibits the linkage internally and externally of railway mass transportation and the other mass transportation i.e. bus terminal stations, rail way stations, micro bus stations, express boat piers, the Airport Rail Link , Suvarnabhumi airport. It displays landmark locations in Bangkok Metropolitan Region includes airports and bus stations.The Map display 3 kinds of linkage : the white circle indicates linkage within the same system for example; connection between the BTS skytrain’s light green and the dark green lines indicates linkage within the different systems for example; connection between the dark red suburban train system and the dark green line BTS skytrain, and thirdly, the pictograms are used to indicate important landmark. Also, there are a reference to one of national geography – the Chao Phraya River with indication of direction.4.DesignDevelopment/Typography Visual design development displays grid system for map and pictogram, linkage connections, other elements and typography.Lay out of each mass transportation by railThe presentation emphasizes details of each line to be specifically used with the signage system. The placing of colour circles is to indicate the route linkage between other transport system and communicate with the users in that system. The idea helps to provide space for detail information than main map, e.g. public parking, bus terminals, boat piers etc.The Standard Design of Signage System for Transportation System in Bangkok.The user manual shows functions of the transportation signage system for Bangkok Metropolitan Region which are; the map, grid system of the map, color scheme, each railway system, typography and pictograms. Those who are interested in the concept can deploy or develop further. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.13 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ -- การออกแบบ |
en_US |
dc.subject |
เครื่องหมายจราจร -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en_US |
dc.subject |
เครื่องหมายจราจร -- การออกแบบ |
en_US |
dc.subject |
ป้ายสัญลักษณ์ -- การออกแบบ |
en_US |
dc.subject |
Signs and symbols -- Design |
en_US |
dc.subject |
Traffic signs and signals -- Thailand -- Bangkok |
en_US |
dc.subject |
Traffic signs and signals -- Design |
en_US |
dc.subject |
Signs and signboards -- Design |
en_US |
dc.title |
การออกแบบระบบป้ายสัญลักษณ์สำหรับระบบคมนาคมในกรุงเทพมหานคร |
en_US |
dc.title.alternative |
The standard design of signage system for transportation system in Bangkok |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
en_US |
dc.degree.discipline |
ศิลปกรรมศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Suppakorn.D@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2012.13 |
|