DSpace Repository

อิทธิพลของบุคลิกภาพหลงตนเองต่อการผูกมัดในชีวิตสมรส : อิทธิพลส่งผ่านของแรงจูงใจและพฤติกรรมรักษาสัมพันธภาพและอิทธิพลกำกับของระยะเวลาการสมรส

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัคนางค์ มณีศรี
dc.contributor.author พรสวรรค์ ตันโชติศรีนนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2019-02-26T09:59:36Z
dc.date.available 2019-02-26T09:59:36Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61245
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการผูกมัดในชีวิตสมรส มีกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคคลที่แต่งงานและมีบุตร จำนวน 2,487 คน ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างในการศึกษาที่ 1 พบว่า บุคลิกภาพหลงตนเองแบบเน้นตนเองไม่มีอิทธิพลทางตรงหรืออิทธิพลทางอ้อมต่อการผูกมัดในชีวิตสมรส ในขณะที่บุคลิกภาพหลงตนเองแบบเน้นความสัมพันธ์มีอิทธิพลทางตรงในระดับต่ำต่อการผูกมัดในชีวิตสมรสและมีอิทธิพลทางอ้อมในระดับปานกลางต่อการผูกมัดในชีวิตสมรส โดยส่งผ่านการมองตนเองในแง่ความสัมพันธ์กับคู่สมรสและพฤติกรรมการรักษาความสัมพันธ์ เมื่อพิจารณาอิทธิพลของตัวแปรกำกับ พบว่า ระยะเวลาในการสมรสไม่มีอิทธิพลกำกับความสัมพันธ์ของตัวแปรในโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการผูกมัดในชีวิตสมรส สำหรับการศึกษาที่ 2 ซึ่งตัดบุคลิกภาพหลงตนเองแบบเน้นตนเองออกจากโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ พบว่าระยะเวลาในการสมรสไม่มีอิทธิพลกำกับความสัมพันธ์ของตัวแปรในโมเดลด้วยเช่นกัน การศึกษาที่ 3 ศึกษาอิทธิพลของความแตกต่างระหว่างเพศ พบว่า เพศไม่มีอิทธิพลกำกับต่อโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการผูกมัดในชีวิตสมรส และยืนยันผลการศึกษาที่คล้ายคลึงกับผลการศึกษาที่ 1 และ 2
dc.description.abstractalternative This research examined the causal models of marital commitment with the total number of 2,487 married samples who had children. Structural equation model analyses reveal that in Study 1 the agentic narcissistic personality has no direct nor indirect effects on marital commitment while communal narcissism has a weak direct effect. Communal narcissism has a moderate indirect effect on marital commitment through relationship-specific identification and relational maintenance behavior. The moderating effect of marital duration on marital commitment is not significant. When the agentic narcissism is deleted from the model in Study 2, the same results are confirmed. Sex difference is examined in Study 3 and the results show that gender is not a significant moderator. The same findings as Study 1 and Study 2 are confirmed in this study.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.300
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การหลงตนเอง
dc.subject ความผูกพัน
dc.subject สถานภาพทางการสมรส
dc.subject Narcissism
dc.subject Commitment (Psychology)
dc.subject Marital status
dc.subject.classification Psychology
dc.title อิทธิพลของบุคลิกภาพหลงตนเองต่อการผูกมัดในชีวิตสมรส : อิทธิพลส่งผ่านของแรงจูงใจและพฤติกรรมรักษาสัมพันธภาพและอิทธิพลกำกับของระยะเวลาการสมรส
dc.title.alternative The moderating effect of marital duration and mediating effects of maintenance motivation and behavior on relationship between narcissism and marital commitment
dc.type Thesis
dc.degree.name ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline จิตวิทยา
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor Kakanang.M@Chula.ac.th
dc.subject.keyword NARCISSISM
dc.subject.keyword MARITAL COMMITMENT
dc.subject.keyword MARITAL DURATION
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2016.300


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record