DSpace Repository

พัฒนาการการอ้างอิงทางสังคมของทารกอายุ 10-14 เดือน

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณระพี สุทธิวรรณ
dc.contributor.author ณัฏฐพร ขุนไชย
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2008-03-07T09:58:00Z
dc.date.available 2008-03-07T09:58:00Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741749317
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6202
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาพัฒนาการการอ้างอิงทางสังคมของทารกไทย ผู้เข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ คือ มารดาและทารกอายุ 10-14 เดือนจำนวน 195 คู่ (ชาย 98 คน หญิง 97 คน) ทำการวิจัยในห้องทดลอง มีสิ่งเร้าเป็นของเล่นที่สร้างความไม่แน่ใจให้กับทารก โดยให้มารดาแสดงอารมณ์สุขและแสดงอารมณ์กลัว ตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ ซึ่งทั้ง 2 สถานการณ์มารดาต้องแสดงอารมณ์ทางสีหน้าและน้ำเสียง มารดาและทารกแต่ละคู่จะเข้าร่วมการวิจัยทั้ง 2 สถานการณ์ โดยการวิจัยแต่ละสถานการณ์จะห่างกันไม่เกิน 7 วัน การวิจัยครั้งนี้มีผู้ช่วยวิจัย 2 คน เป็นผู้ประเมินพฤติกรรมการอ้างอิงทางสังคมของทารก ซึ่งมีค่า inter-observer agreement ระหว่างผู้ประเมินคือ 1.00 ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ทารกไทยจำนวนหนึ่งเริ่มมีการแสดงพฤติกรรมการอ้างอิงทางสังคมตั้งแต่อายุ 10 เดือน และจากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Logistic Regression จะเห็นได้ว่าจำนวนทารกที่มีพฤติกรรมการอ้างอิงทางสังคมเพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์การตัดสินระดับพัฒนาการที่ 75% ของ Piaget, 1965) ผลการวิจัยของทั้ง 2 สถานการณ์นี้พบว่าทารกไทยมีพัฒนาการการอ้างอิงทางสังคม เมื่อทารกอายุ 12 เดือน en
dc.description.abstractalternative This research was a survey study to investigate the development of social referencing of Thai infants. Participants were 195 couples of 10-to-14-month-old infants and their mothers (98 males and 97 females). The study was conducted in an experimental room. The ambiguous toys were used as stimuli. Mothers were assigned to provide two emotional expression trials, happy and fear, for their infants. In each trial, mother expressed both facial and vocal emotional signals. Each infant-mother couple participated in both trials with one-week interval between the trial. Two research assistants independently coded infant behaviors. The inter-observer agreement between the two coders was 1.00. The results show that a small number of Thai infants have already performed social referencing behavior since they were 10 months old, for both emotional expression trials. Regression analysis revealed that the older the infants, the increasing number of them showing social referencing behaviors. According to Piaget's 75 percent cutoff score as a judgment for development level (Piaget, 1965), the result indicates that the development of social referencing of Thai infantsis at 12 months of age for both trials. en
dc.format.extent 1393728 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ทารก en
dc.subject จิตวิทยาเด็ก en
dc.subject พัฒนาการของเด็ก en
dc.title พัฒนาการการอ้างอิงทางสังคมของทารกอายุ 10-14 เดือน en
dc.title.alternative The development of social referencing of infants aged 10-14 months old en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Panrapee.S@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record