dc.contributor.author |
ศิริรัตน์ เร่งพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ฐิติพงศ์ ธนะรัชติการนนท์ |
|
dc.contributor.author |
ปัญชลี ประคองศิลป์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.contributor.other |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.date.accessioned |
2008-03-19T04:36:53Z |
|
dc.date.available |
2008-03-19T04:36:53Z |
|
dc.date.issued |
2541 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6286 |
|
dc.description.abstract |
การแยกแลคติกแอซิดแบคทีเรียจากลำไส้ไก่ที่มีสุขภาพแข็งแรงจากตลาดสดแหล่งต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 54 ตัวอย่าง ได้เชื้อแลคติกแอซิดแบคทีเรีย จำนวนทั้งสิ้น 28 สายพันธุ์ และเมื่อนำมาทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อทดสอบ Bordetella avium, Listeria monocytogenes, Pasteurella multocida, Proteus vugalis, Pseudomonas aeruginose, Salmonella enteritidis, Salmonella typhimurium และ Staphylococcus aureus พบว่าส่วนน้ำเลี้ยงเชื้อของแลคติกแอซิดแบคทีเรียจำนวน 6 สายพันธุ์ สามารถยับยั้งเชื้อทดสอบบนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง โดยดูความกว้างของบริเวณยับยั้ง และเมื่อนำเชื้อทั้ง 6 สายพันธุ์ มาทำการจัดกลุ่มตามหลักอนุกรมวิธาน สามารพจัดอยู่ในกลุ่มของ Lactobacillus acidophilus 2 สายพันธุ์, Lactobacillus bulgaricus 1 สายพันธุ์, Lactobacillus fermentum 1 สายพันธุ์, Lactobacillus casei Subsp. Tolerans 1 สายพันธุ์, Lactobacillus jensenii 1 สายพันธุ์ และเมื่อนำเชื้อ Lactobacillus spp. แบบผสมไปทดลองเลี้ยงไก่ปรากฏว่า เชื้อในสกุล Lactobacillus fermentum ไม่สามารถเจริญอยู่รอดได้ในลำไส้ของไก่ และการศึกษาผลการให้ Lactobacillus spp. แบบผสมต่อสมรรถภาพในการเจริญเติบโตของไก่พบว่า ไก่กลุ่มทดสอบที่ให้กิน Lactobacillus spp. แบบผสมมีน้ำหนักตัวมากกว่าไก่กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ในเรื่องของประสิทธิภาพการใช้อาหารพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และเมื่อทดสอบผลการท้าทายด้วยเชื้อ Salmonella typhimurium พบว่า ไก่กลุ่มที่ได้รับ Lactobacillus spp. แบบผสมสามารถลดการเป็นพาหะของโรคติดเชื้อ Salmonella บางชนิด ผลที่ได้รับจากการทดลอง อาจกล่าวได้ว่าการใช้ Lactobacillus spp. แบบผสมมีแนวโน้มที่จะช่วยให้สมรรถภาพในการผลิตของไก่เพิ่มขึ้นได้เช่นเดียวกับสารปฏิชีวนะเร่งการเจริญเติบโตอื่นๆ และมีแนวโน้มที่จะนำไปใช้ทดแทนสารปฏิชีวนะที่ก่อให้เกิดผลเสียแก่ผู้บริโภค |
en |
dc.description.abstractalternative |
The 28 Lactic Acid Bacterial strains were isolated from 54 samples of healthy chicken intestinal tracts collected from markets in Bangkok. The bacteria were then tested for antibiotic test with Bordetella avium, Listeria monocytogenes, Pasteurella multocida, Proteus vugalis, Pseudomonas aeruginosa, Salmonella enteritidis, Salmonella typhimurium and Staphylococcus aureus. The results showed that supernatant of 6 Lactic Acid Bacterial strains produced zones of inhibition on solid media. All 6 strains were taxonomically classified as 2 Lactobacillus acidophilus strains, 1 Lactobacillus bulgaricus strain, 1 Lactobacillus fermentum strain, 1 Lactobacillus casei Subsp. Tolerans strain, and 1 Lactobacillus jensenii strain. When mixed culture of these Lactobacillus spp. Were supplemented to chickens as probiotic, Lactobacillus fermentum was the only strain that could not survive in chicken's intestine. In addition, the efficiency test of probiotic was conducted and showed that tested chickens, in which mixed probiotics were supplemented, had larger body weights than the control with statistical singnificance (P<0.05) and Feed Conversion Ratio was not significantly different. When conducting a challenging test with Salmonella typhimurium, it revealed that mix culture Lactobacillus spp. Could decrease the infection of certain Salmonella spp. The results from this work could be concluded that using mixed culture of Lactobacillus spp. As probiotics in increasing chicken production was benefitial as the same as the use of other growth promotants and could be used as alternatives for antibiotics. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2540 |
en |
dc.format.extent |
4338896 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
แบคทีเรียกรดแล็กติก |
en |
dc.subject |
ไก่--อาหาร |
en |
dc.subject |
โพรไบโอติก |
en |
dc.title |
การใช้แลคติกแอซิดแบคทีเรียเป็นโพรไบโอติกเพื่อเสริมในอาหารไก่ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en |
dc.title.alternative |
Lactic acid bacteria use as problotics for supplement in chicken feeds |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
sirirat@sc.chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|