DSpace Repository

การศึกษาชีววิทยาของกบภูเขา (เขียดแลว) เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์พันธุ์

Show simple item record

dc.contributor.author ผุสตี ปริยานนท์
dc.contributor.author กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา
dc.contributor.author นงเยาว์ จันทร์ผ่อง
dc.contributor.author ธีรวรรณ นุตประพันธุ์
dc.contributor.author อารมณ์ รัศมิทัต
dc.contributor.author กิ่งแก้ว วัฒนเสริมกิจ
dc.contributor.author วีณา เมฆวิชัย
dc.contributor.author วิโรจน์ ดาวฤกษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2008-03-19T07:10:09Z
dc.date.available 2008-03-19T07:10:09Z
dc.date.issued 2529
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6294
dc.description.abstract การศึกษาลักษณะนิเวศน์ของกบภูเขา พบว่าปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการดำรงชีวิต คือ สภาพแหล่งที่อยู่อาศัย กบจะอาศัยในลำธารที่มีน้ำไหลและในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง อุณหภูมิไม่เป็นปัจจัยที่สำคัญ กบจะวางไข่ได้เกือบตลอดปี ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำ สภาพกรวดและหินบริเวณพื้นน้ำที่รองรับหลุมไข่ กบภูเขาจะวางไข่ในหลุมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 45-70 ซม. ลึก 4-10 ซม. กบภูเขาที่มีขนาดโตเต็มที่ ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีเขี้ยว 2 อันที่ริมฝีปากล่าง ซึ่งยาวกว่าของตัวเมีย ผิวหนังจะมีลักษณะเรียบและลื่นคล้ายผิวหนังเขียด มีสีน้ำตาลปนเขียว ขาหลังจะมีขนาดใหญ่กว่าขาหน้ามากเมื่อเปรียบเทียบกับกบนา ทางเดินอาหารสั้น ไม่พบไขมันสะสมหรือถ้าพบก็มีขนาดเล็กมาก ซึ่งเชื่อว่าน่าจะไม่มีการสะสมอาหารเพื่อการจำศีล การศึกษาทางปาราสิตพบพยาธิใบไม้ 5 สกุล พยาธิตัวกลม 4 สกุล โปรโตซัว 6 สกุล และพยาธิหนอนหัวหนามไฟลั่ม Acanthocephalan 1 ตัว ไม่ทราบชื่อวิทยาศาสตร์ อวัยวะที่พบปาราสิตมากที่สุดได้แก่ ลำไส้ใหญ่ ลำใส้เล็ก ใต้เยื่อบุช่องท้อง ตับและไตตามลำดับ การศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์โดยใช้ฮอร์โมนในการชักนำเพื่อทำให้เกิดการตกไข่ และการหลั่งอสุจิ พบว่าการใช้ต่อมใต้สมองของกบนาจำนวน 5 และ 7 ต่อม ฉีดเข้าช่องท้องของกบภูเขาตัวเมียยังไม่สามารถชักนำให้เกิดการตกไข่ รวมทั้งการใช้ฮอร์โมน HCG 150 IU ฉีดเข้ากบตัวผู้ก็ยังไม่สามารถทำให้กบตัวผู้หลั่งอสุจิได้ และจากผลการศึกษาทาง Histology ของอวัยวะสืบพันธุ์พบว่าในกบภูเขาที่ทำการทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ p>0.05 en
dc.description.abstractalternative Certain morphological characters, internal anatomy, parasitic infestation, ecological and reproduction behavior were recorded and studied on Rana blythii between 1984-1985. It was observed that the flowing stream habitat with high humidity and high oxygen content was the most important factor for the frog existence. Environmental temperature seems to be less significant. The frogs can lay their eggs nearly all year round except during the heavy rainy season when the waterways are flooded. The amount of flowing water and the gravel to pebble stream beds seem to be the limiting factor for the nest building for tadpoles. The female frogs lay about 500-1,000 eggs in the gravel excavated about 40-50 cm. In diameter and 4-10 cm. Deep from the top of the gravel pile. The full-grown male frogs are normally larger and heavier than the female ones and they can be recognized by the larger and longer two sharp mandibular jaws towards the tip of the lower lip. The skin is smooth and brownish green in colour. The hind legs are much larger and longer than the front legs. Comparing to the common farm-frogs (Rana tigerina), the hill-frogs have much shorter digestive tracts, very little or none fat body. This possibly suggests that no hibernation exists in the hill-frogs. Parasitic studies reveal 5 genera of flukes, 4 genera of round worms, 6 genera of protozoans and 4 Acanthocephalus not known species. The organs mostly infected are small and large intestine, peritoneum, liver and kidney respectively. Induced breeding by pituitary hormone was experimented in both male and female frogs. Injection of 5 and 7 pituitary glands from farm-frogs into the body cavity of the female hill-frogs was found unsuccessful for ovulation. The use of HCG hormone 150 IU injection into male hill-frogs gave no satisfactory result either. Nevertheless, the histological examination of the reproductive organs shows no statistic significant difference between the experimented and the controlled frogs at p > 0.05. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 12036545 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject กบภูเขา en
dc.title การศึกษาชีววิทยาของกบภูเขา (เขียดแลว) เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์พันธุ์ en
dc.title.alternative Biological studies of Rana blythii in relation to its conservation problem en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Putsateep@yahoo.com
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author aromrasmidatta@yahoo.com
dc.email.author kingkaw.w@chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record