DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนร่างกายของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันกับแบบที่นั่งที่เหมาะสม

Show simple item record

dc.contributor.author จิตรา แก้วปลั่ง
dc.contributor.author กิตติ อินทรานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2008-03-20T11:58:48Z
dc.date.available 2008-03-20T11:58:48Z
dc.date.issued 2537
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6319
dc.description โครงการวิจัยเลขที่ 124-IR-2535 สถาบันวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.description.abstract ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมีการประสานสัมพันธ์กันระหว่าง คน-เครื่องจักร-สิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดีการทำงานของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันเป็นการทำงานที่ต้องนั่งทำงานเป็นเวลานานและไม่สามารถเปลี่ยนอิริยาบถได้ เป็นการทำงานที่ไม่เหมาะสมโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อทราบปัญหาการนั่งของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนของร่างกายของพนักงานขับรถกับที่นั่งพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน 3) เสนอแบบที่นั่งพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันที่เหมาะสม วิธีการศึกษา ได้แก่ การสร้างหุ่นจำลองสามมิติเปอร์เซ็นไตล์ที่ 5, 50 และ 95 จากสัดส่วนร่างกายพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยจำนวน 44 คน แล้วทำการทดสอบกับที่นั่งรถบรรทุกที่มีอยู่ในปัจจุบัน และทำการทดสอบเชิงจิตวิสัย โดยสรุป ที่นั่งพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันในมิติระยะเลื่อนเข้าออกและมิติความสูงของที่นั่งที่ใช้อยู่ยังไม่ครอบคลุม 90 เปอร์เซ็นต์ของประชากรมีผลทำให้การทำงานไม่สะดวกและเกิดความเมื่อยล้าบริเวณหลังแบบที่นั่งพนักงานขับรถบรรทุกข้ำมันที่ครอบคลุม 90 เปอร์เซ็นต์ของประชากรที่เสนอ ได้แก่ มิติระยะเลื่อนเข้าออกของที่นั่ง (ระยะแนวนอนจากจุดอ้างอิงของเก้าอี้ถึงตำแหน่งส้นเท้า๗ เป็น 52-64 ซม. และความสูงของที่นั่ง (ระยะห่างจากพื้นถึงจุดอ้างอิงของเก้าอี้) เป็น 30-37 ซม. เมื่อเปรียบเทียบแบบดังกล่าวกับผลงานการวิจัยในอดีตพบว่าแตกต่างกัน ซึ่งอาจมีสาเหตุจากสัดส่วนร่างกายที่แตกต่างกัน en
dc.description.abstractalternative An efficient working system requires good interaction among man-machine and environment. The oil delivery truck drivers must work long hours under uncomfortable positions which make their work inefficient. The objectives of this study were: 1) to find out the seating problems of oil delivery truck drivers, 2) to study the relationship between anthropometrics of the population of drivers and the cab dimensions, and 3) to recommend the appropriate cab design. The study involves constructing three-dimensional models for the 5th, 50th and 95th percentile from a sample of 44 male drivers of the Petroleum Authority of Thailand. These were then tested with the existing cab. The subjective tests were used also. It was concluded that the existing driver cab was not appropriate for 90 percent of the population. The seat to pedal, the seat to steering-wheel and the setting height were the causes for discomfort and back pain. The recommended cab design dimension were as follows: the seat reference point (SRP) to common heel point was 52-64 cm., and the height of SRP above the floor was 30-37cm. The recommended design was found to differ somewhat from previous studies. This was probably because of the anthropometric difference. en
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ en
dc.format.extent 11973977 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject เออร์โกโนมิกส์ en
dc.subject เก้าอี้ -- การออกแบบ -- มนุษย์ปัจจัย en
dc.subject คนขับรถบรรทุก en
dc.subject สมรรถภาพทางกาย en
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนร่างกายของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันกับแบบที่นั่งที่เหมาะสม en
dc.type Technical Report es
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author Kitti.I@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record