dc.contributor.advisor |
Kris Angkanaporn |
|
dc.contributor.advisor |
Indhira Kramomtong |
|
dc.contributor.author |
Sucheera Chotikatum |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
|
dc.date.accessioned |
2008-03-24T02:06:11Z |
|
dc.date.available |
2008-03-24T02:06:11Z |
|
dc.date.issued |
2005 |
|
dc.identifier.isbn |
9741751257 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6361 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005 |
en |
dc.description.abstract |
The objective of this investigation was to study the effect of medium chain fatty acids, organic acids and fructooligosaccharide on cecal Salmonella enterica Serovar Enteritidis colonization, physically and biological changes of intestine in broiler chickens. Six hundred day old chicks were allocated into 4 treatments. The treatments were CON: broiler chicks were received basal corn-soybean meal diet. FOS: broiler chicks were received basal diet supplemented 4 g/kg fructooligosaccharide, ORA: broiler chicks were received basal diet and given tap water supplemented with mixed organic acids at 1:1,000 continuously until the end of experiment, MCA: broiler chicks were received basal diet and given tap water diluted with medium chain fatty acids 1:1,000 continuously from start until 35 days and 1:2,000 until the end of experiment, All chickens were inoculated with S.Enteritidis 0.3 ml is culture 10[superscript 6] cfu/ml at day 3 and 1 ml of 10[superscript 8 cfu/ml at day 13 post-hatching. At days 21, 35 and 45 of age, body weight and feed intake were recorded. Cecal samples were examinated of S.Enteritidis colonization. In situ pH determination in crop small intestine and ceca were measured. Jejunal mucosal samples were collected for the determination of disaccharidases. Iileal digesta were collected for nutrients digestibility using the marker technique. Cecal contents were collected for determination of short chain fatty acids (SCFAs) and medium chain fatty acids (MCFAs). Plasma samples were collected to determine medium chain fatty acids. Forl the overall period (day 1-45 of age), chicks in MCA and ORA groups had significantly (p<0.05) higher average daily gain and better feed conversion ratio than CON group. Chicks in MCA, ORA and FOS group had significantly (p<0.05) higher body weight than CON group. Chicks in MCA and ORA group showed the reduction of S.Enteritidis in the ceca which was significantly (p<0.05) lower than CON group. Chicks in MCA, ORA and FOS group had significantly (p<0.05) lower pH of crop and intestine than CON group. Chicks in MCA group had significantly (p<0.05) higher disaccharidases enzyme, digestibility of nutrients, SCFAs (acetic acid and valeric acid), MCFAs in plasma than CON group. In conclusion, chicks in MCA and ORA group had better growth performance, less S.Enteritidis colonization and pH in crop and intestines. Chicks in FOS group tended to decrease Salmonella colonization in ceca. The chicks in MCA and FOS group increased sucrase activity. Moreover, chicks in MCA group were found MCFA concentrations in plasma, increased SCFAs concentrations in ceca and nutrients digestibility. |
en |
dc.description.abstractalternative |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกรดไขมันสายปานกลาง กรดอินทรีย์ ฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ ต่อการเกาะกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลล่า เอนเทอริทิดิส ต่อคุณลักษณะการเจริญเติบโตการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และชีวภาพของลำไส้ของไก่เนื้อ โดยในการทดลองใช้ลูกไก่คละเพศ อายุ 1 วัน จำนวน 600 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารพื้นฐานและให้น้ำธรรมดา เป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารพื้นฐานที่ผสมฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ใน ระดับ 4 กรัมต่อกิโลกรัมอาหารและให้น้ำธรรมดา กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารพื้นฐานและให้น้ำผสมกรดอินทรีย์ในอัตราส่วน 1:1,000 ผสมน้ำให้กินทุกวัน กลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารพื้นฐานและให้น้ำผสมกรดไขมันสายปานกลางในอัตราส่วน 1:1,000 เป็นระยะเวลา 35 วัน หลังจากนั้นให้ในอัตราส่วน 1:2,000 ผสมน้ำให้กินทุกวันจนสิ้นสุดการทดลอง วันที่ 3 ทำการป้อนเชื้อ Salmonella ความเข้มข้น 10[superscript 6] cfu/ml จำนวน 0.3 ซีซี และในวันที่ 13 ทำการป้อนเชื้อ Salmonella ซ้ำที่ความเข้มข้น 10[superscript 8] cfu/ml จำนวน 1 ซีซี ชั่งน้ำหนักไก่ทดลองทุกกลุ่มและบันทึกปริมาณอาหารที่กินในวันที่ 21, 35 และ 45 ของการทดลอง ในวันที่ 17, 24 และ 45 ทำการเก็บตัวอย่างไส้ตันเพื่อตรวจการเกาะกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลล่า วัดค่าความเป็นกรด-ด่างของกระเพาะพัก ลำไส้และไส้ตัน เก็บตัวอย่างเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กส่วนกลางมาวัดระดับเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลโมเลกุลคู่ เก็บตัวอย่างอาหารในลำไส้เล็กส่วนปลายมาตรวจหาค่าการย่อยได้ของโปรตีน พลังงานและไขมัน เก็บตัวอย่างอุจจาระในไส้ตัน แล้วนำไปวิเคราะห์หากรดไขมันสายสั้น และสายปานกลาง เก็บตัวอย่างเลือดเพื่อใช้ในการวิเคราะห์หากรดไขมันสายปานกลาง การเจริญเติบโตในภาพรวมตลอด 45 วันของการทดลอง พบว่าไก่ที่ได้รับกรดไขมันสายปานกลาง และกรดอินทรีย์ผสมน้ำ การเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวันมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีกว่าไก่ในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) พบว่าน้ำหนักตัวสุดท้ายของไก่กลุ่มที่เสริมกรดไขมันสายปานกลาง กรดอินทรีย์ ฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) พบว่าผลการเกาะกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลล่าในกลุ่มที่ได้รับกรดไขมันสายปานกลางผสมน้ำ และกรดอินทรีย์ผสมน้ำ ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม และไก่ทดลองที่มีการเสริมกรดไขมันสายปานกลาง กรดอินทรีย์ฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ พบว่าค่าพีเอชในกระเพาะพักและในทางเดินอาหารลดลงแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) นอกจากนี้พบกรอไขมันสายปานกลางในเลือดแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) และพบว่าไก่กลุ่มที่ไดรับกรดไขมันสายปานกลางผสมน้ำมีค่าการย่อยได้ทางโภชนะ ปริมาณเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลโมเลกุลคู่และระดับกรดไขมันสายสั้น(กรดอะซิติกและกรดวาเลลิก) เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า กรดไขมันสายปานกลาง และกรดอินทรีย์ มีผลเพิ่มการเจริญเติบโตและการลดการเกาะกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลล่า ลดระดับความเป็นกรด-ด่างในกระเพาะพัก และในทางเดินอาหาร และพบว่ากรดไขมันสายปานกลาง และผรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ มีผลเพิ่มปริมาณเอนไซม์ซูเครส นอกจากนี้ในไก่กลุ่มที่เสริมกรดไขมันสายปานกลางพบกรดไขมันสายปานกลางในเลือดและพบว่ากรดไขมันสายปานกลางมีผลเพิ่มการย่อยได้ของโภชนะเพิ่มปริมาณเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลโมเลกุลคู่ เพิ่มปริมาณกรดไขมันสายสั้น |
en |
dc.format.extent |
1133472 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1779 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Salmonella enteritidis |
en |
dc.subject |
Intestines |
|
dc.subject |
Broilers (Poultry) |
|
dc.title |
Effects of medium chain fatty acids, organic acids and fructooligosaccharide on cecal salmonella enterica serova enteritidis colonization, physical and biological changes of intestine in broiler chicks |
en |
dc.title.alternative |
ผลของกรดไขมันสายปานกลาง กรดอินทรีย์ และฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ต่อการเกาะกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลล่า เอนเทอริทิดิส การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และชีวภาพของลำไส้เล็กในไก่เนื้อ |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Animal Physiology |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
akris@netserv.chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2005.1779 |
|