dc.contributor.advisor |
สุวิมล รุ่งเจริญ |
|
dc.contributor.author |
สุวัสดี โภชน์พันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-16T02:09:22Z |
|
dc.date.available |
2020-03-16T02:09:22Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.isbn |
9743471936 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64354 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
|
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาถึงพัฒนาการขององค์กรปกครองท้องถิ่นในรูปของ “เทศบาล” ที่เกิดขึ้นภายใต้กระบวนการปฏิบัติสยาม 2475 จนถึงการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 รวมทั้งผลกระทบของการจัดการเทศบาลต่อบทบาทของอำนาจท้องถิ่นในเขตเทศบาล จากการศึกษาพบว่า พัฒนาของเทศบาลสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะแรก เป็นระยะกำเนิดและก่อตัวของเทศบาล (พ.ศ. 2476-2480) ภายใต้แนวความคิดในการจัดการปกครองของคณะราษฎร ที่ต้องการให้เทศบาลมีส่วนในการฝึกฝนราษฎรให้เข้าใจวิธีการปกครองแบบใหม่ตามระบอบรัฐธรรมนูญ รูปแบบของเทศบาลในระยะนี้จึงมีลักษณะแบบ สภา - นายกเทศมตรี ที่สภามีอำนาจเข้มแข็ง ระยะที่สอง เป็นระยะที่รัฐเร่งพัฒนาเทศบาลและแก้ปัญหาความอ่อนแอของฝ่ายบริหาร ให้เอื้อประโยชน์ต่อการบำรุงท้องถิ่นตามนโยบายสร้างชาติ ของจอม ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487) จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของเทศบาลเป็นแบบคณะกรรมการเพื่อให้ฝ่ายบริหารมีอำนาจเข้มแข็ง และในระยะที่สาม เป็นระยะของการชะลอตัวและการเสื่อมถอยของเทศาล ภายใต้บรรยากาศทางการเมืองหลังการรัฐประหาร (พ.ศ. 2590-2500) ที่รัฐพยาบาลควบคุมเทศบาล โดยการให้ข้าราชการประจำเข้ามามีบทบาทและควบคุมการดำเนินงานภายในเทศบาลมากขึ้น ลักษระเหล่านี้ส่งผลกระทบให้เทศบาลมีความเป็นอิสระน้อยลง และสร้างความอ่อนแอให้กับเทศบาลในการปกครองตนเอง การจัดการปกครองท้องถิ่นที่เกิดขึ้นได้แกให้เกิดผลกระทบต่อกลุ่มอำนาจท้องถิ่นต่าง ๆ ที่อยู่นอกระบบราชการ ให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสรรทรัพยากรภายในท้องถิ่นอย่างเป็นทางการครั้งแรก ฝ่านกระบวนการเลือกตั้งและการแต่งตั้งจากรัฐบาล ซึ่งทำใหกลุ้มอำนาจท้องถิ่นเหล่านี้กลายเป็นกลุ่มอำนาจใหม่ที่มีความสำคัญขึ้นมาควบคู่กับกลุ่มอำนาจในระบบราชการ |
|
dc.description.abstractalternative |
This thesis studies the development of “the municipality” and its impacts on local power from the 1932 Revolution to the 1957 Coup d'Etat of Field Marshal Sarit Thanarat. The study reveals that the development of municipal rule during the period under study can be divided into 3 stages. During the first stage (1933 - 1937), the municipal administration was modeled after the national government with an emphasis on the power of its legislative body. This was in accordance with the policy of the People's Party in providing the Thai people with a local political forum for the understanding of and taking part in the newly introduced constitutional rule. The second stage (1938 - 1944) saw a serious effort on the part of the state to restructure the municipal rule by strengthening its administrative power so that it could better serve Pibulsonggram’s “nation building” policy at the local level. เท the third stage (1947 -1957), following the 1947 Coup, the municipal rule experienced decline, being subjected to close supervision of the state. Civil servants increasingly controlled the running of the municipal affairs. This control not only weakened the power of the municipal government but also rendered it less independent. Yet, the introduction of the municipal rule allowed non - bureaucratic local elite to take part in the allocation of local resources for the first time, either through election process or through appointment. Finally, this political development also put local power on par with the bureaucrats in the administration of local affairs. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
เทศบาล -- ไทย |
|
dc.subject |
การปกครองท้องถิ่น -- ไทย |
|
dc.subject |
ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- กรุงรัตนโกสินทร์, -- 2475-2500 |
|
dc.title |
เทศบาลและผลกระทบต่ออำนาจท้องถิ่น พ.ศ. 2476-2500 |
|
dc.title.alternative |
Municipality and its impacts on local power, 1933-1957 |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ประวัติศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|