DSpace Repository

แบบจำลองการกระจายรายได้ รายจ่าย และความมั่งคั่งของประชากรไทยโดยใช้ฟิสิกส์สถิติ

Show simple item record

dc.contributor.advisor อุดมศิลป์ ปิ่นสุข
dc.contributor.author อัญชลี ภักดีสุวรรณ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-03-25T00:40:34Z
dc.date.available 2020-03-25T00:40:34Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64427
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 en_US
dc.description.abstract ในโครงงานชิ้นนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อพิจารณาลักษณะของการกระจายรายได้ รายจ่ายและความมั่งคั่งของครัวเรือนในประเทศไทยโดยการเปรียบเทียบระบบทางเศรษฐกิจของไทย กับอนุภาคในระบบปิดโดยใช้ฟิสิกส์สถิติในการสร้างแบบจำลอง ได้แก่ การกระจายแบบโบสต์มาน –กิบบ์ (Boltzmann – Gibbs distribution) การกระจายแบบโบสต์ – ไอนสไตน์ (Bose – Einstein distribution) การกระจายแบบเฟอร์มิ – ดิเร็ก (Fermi – Dirac distribution) และนำแบบจำลองดังกล่าวมาใช้ร่วมกับการกระจายแบบ พาเรโต (Pareto distribution) ชนิดที่ 1 จากผลของการทดลองพบว่า แบบจำลองที่เหมาะสมกับการกระจายรายได้ของครัวเรือนสะสมมากที่สุด คือ การกระจายแบบโบสต์ – ไอนสไตน์ และ เฟอร์มิ – ดิเร็ก แบบจำลองที่เหมาะสมกับการการกระจายรายจ่ายของครัวเรือนสะสมมากที่สุด คือ การกระจายแบบโบสต์ – ไอนสไตน์ และแบบจำลองการกระจายความมั่งคั่งของครัวเรือนสะสมมากที่สุด คือ แบบจำลองการกระจายแบบเฟอร์มิ – ดิเร็กและเมื่อพิจารณาข้อมูลการกระจายรายได้ของกลุ่มครัวเรือนจะสามารถแบ่งกลุ่มของครัวเรือนออกเป็น 3 กลุ่มเพื่อแบ่งกลุ่มของครัวเรือนที่มีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดได้โดยใช้จุดตัดระหว่างแบบจำลองเฟอร์มิ – ดิเร็กกับแบบจำลองโบสต์มาน – กิบส์ เป็นเกณฑ์ในการแบ่งกลุ่มครัวเรือนรายได้ต่ำกับกลุ่มครัวเรือนรายได้ปานกลางออกจากกัน และใช้จุดตัดระหว่างแบบจำลองโบสต์มาน-กิบส์ กับแบบจำลองพาเรโตเป็นเกณฑ์ในการแบ่งกลุ่มของครัวเรือนที่มีรายได้ปานกลางกับกลุ่มของครัวเรือนที่มีรายได้สูงออกจากกัน en_US
dc.description.abstractalternative This project was developed to study the distribution of income, expenditure and wealth of households in Thailand by comparing the economic system of Thailand with particles in a closed system. The project used models from statistical physics to describe the system, namely Boltzmann-Gibbs distribution, Bose-Einstein distribution, and Fermi-Dirac distribution. These models were used together with Pareto distribution of type I. From the results, the most suitable models for the distribution of accumulative income of households are Bose-Einstein and Fermi-Dirac distributions. The most suitable model for the distribution of accumulative expenditure of households is Bose-Einstein distribution, and the most suitable models for the distribution of accumulative wealth of households is Fermi-Dirac distribution. From data of income distribution, households can be divided into 3 groups according to their income. The intersection between the Fermi-Dirac model and the Boltzmann-Gibbs model is used to divide households with low income from households with middle income. The intersection between the Boltzmann-Gibbs model and the Pareto model is used to divide households with middle income from households with high income. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title แบบจำลองการกระจายรายได้ รายจ่าย และความมั่งคั่งของประชากรไทยโดยใช้ฟิสิกส์สถิติ en_US
dc.title.alternative Distribution modelling of income, expenditure and wealth in Thailand using statistical physics en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Udomsilp.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record