dc.contributor.advisor |
คัคนางค์ มณีศรี |
|
dc.contributor.author |
วันวิสาข์ ดำเนินสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-28T08:48:52Z |
|
dc.date.available |
2020-03-28T08:48:52Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9740303412 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64488 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลของการแสดงอารมณ์และการควบคุมอารมณ์ที่มีต่อการเกิดความรู้สึกเศร้า นิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 88 คน เป็นชาย 44 คน และหญิง 44 คน ถูกขอให้ชมเทปวีดิทัศน์ที่ทำให้เกิดอารมณ์เศร้าภายใต้คำสั่งในเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งใน 4 เงื่อนไข ผู้เข้าร่วมการวิจัยในเงื่อนไขการแสดงอารมณ์เศร้า (n=22) ไต้รับการบอกให้แสดงอารมณ์ออกไปอย่างเต็มที่ ผู้เข้าร่วมการวิจัยในเงื่อนไขการพิจารณายับยั้งอารมณ์ (n=22) ได้รับการบอกให้คิดเกี่ยวกับเทปวีดิทัศน์ไปในทางที่ทำให้ไม่เกิดความรู้สึกใดๆ ผู้เข้าร่วมการวิจัยในเงื่อนไขการเก็บกดอารมณ์(n=22) ได้รับการบอกให้มีพฤติกรรมไปในทางที่หากมีคนกำลังฝึกดูพวกเขาอยู่จะไม่รู้ว่าพวกเขากำลังรู้สึกอย่างไร และผู้เข้าร่วมการวิจัยในเงื่อนไขควบคุม (n=22) ถูกปล่อยให้ชม เทปวีดิทัศน์ไปตามปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การแสดงอารมณ์เศร้าทำให้เกิดความรู้สึกเศร้ามากกว่าการพิจารณายับยั้งอารมณ์และการเก็บกดอารมณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2. การพิจารณายับยังอารมณ์และการเก็บกดอารมณ์ทำให้เกิดความรู้สึกเศร้าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. การเก็บกดอารมณ์และการแสดงอารมณ์ตามธรรมชาติทำให้เกิดความรู้สึกเศร้าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to examine the effect of emotional expression and emotional control on emotional experience of sadness. Eighty-eight undergraduate students, 44 males and 44 females were asked to watch a sad film under 1 of 4 conditions. Expression participants (n=22) were told to fully express their emotions; reappraisal participants (n=22) were told to think about the film in such a way that they would feel nothing; suppression participants (n=22) were told to behave in such a way that someone watching them would not know they were feeling anything; and participants in a control condition (n=22) were told to simply watch the film. Results show that: 1. Emotional expression leads to more sadness than reappraisal and suppression (p< .05). 2. There is no significant difference in sadness between reappraisal and suppression. 3. Suppression and spontaneous emotional response do not differ significantly in reducing sadness. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
อารมณ์ |
|
dc.subject |
ความเศร้า |
|
dc.subject |
ความยืดหยุ่นทางอารมณ์และจิตใจ |
|
dc.subject |
Emotions |
|
dc.subject |
Sadness |
|
dc.subject |
Resilence quotient |
|
dc.title |
ผลของการแสดงอารมณ์และการควบคุมอารมณ์ ที่มีต่อการเกิดความรู้สึกเศร้า |
en_US |
dc.title.alternative |
Effect of emotional expression and emotional control on emotional experience of sadness |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาสังคม |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Kakanang.M@Chula.ac.th |
|