dc.contributor.advisor |
ธีระพร อุวรรณโณ |
|
dc.contributor.author |
ธิดารัตน์ ศรีเมฆารัตน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-29T15:24:26Z |
|
dc.date.available |
2020-03-29T15:24:26Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9740302203 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64520 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
การทดลองภาคสนามครั้งนี้ต้องการศึกษาผลของการใช้ภาษาถิ่นของผู้ขอความช่วยเหลือ และการสูญเสียของการให้ความช่วยเหลือ ต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือ ด้วยการทดลองขอความช่วยเหลือ 2 ประเภทคือ การขอให้ตอบแบบสำรวจ และการขอแลกธนบัตรห้าสิบบาทให้เป็นธนบัตรปลีกย่อย ผู้ร่วมการทดลองคือประชาชนในอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 256 คนเป็นชาย 128 คน และหญิง 128 คน ถูกลืมเลือกด้วยวิธีสุ่มแบบบังเอิญ (accidental sampling) โดยผู้ช่วยการทดลองหญิง 2 คน ให้วิธีการทดสอบความแตกต่าง ระหว่างสัดส่วน (Testing the differences between two proportions) โดยใช้สถิติทดสอบซี (Z-test) ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการทดลองพบว่า 1. สัดส่วนความช่วยเหลือที่ผู้ช่วยการทดลองได้รับจากการขอความช่วยเหลือด้วยภาษาปักษใต้ ไม่แตกต่างจากความช่วยเหลือที่ผู้ช่วยการทดลองได้รับจากการขอความช่วยเหลือด้วยภาษากลาง ทั้งในการขอให้ตอบแบบสำรวจ และการขอแลกธนบัตรห้าสิบบาท 2. สัดส่วนความช่วยเหลือที่ผู้ช่วยการทดลองได้รับจากการขอความช่วยเหลือที่เกิดการสูญเสียน้อย มากกว่าการขอความช่วยเหลือที่เกิดการสูญเสียมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งในการขอให้ตอบแบบสำรวจ และการขอแลกธนบัตรห้าสิบบาท |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this field experiment were to study the effects of dialect of help seekers and cost of helping on helping behavior by two types of request (answer the poll and exchange for bank notes). The 256 participants, 128 females and 128 males, in Amphoe Muang Songkhla were accidentally selected by 2 female experimenters. Z-test was used to test the differences between two proportions. The results reveal that: 1. Requesters who used southern dialect received help from people in Songkhla in both experiments quite comparable with requesters who used central dialect. 2. People in Songkhla were significantly more likely to help when the cost of helping was low than when the cost of the helping was high (p < .01) in terms of answering the poll and exchanging for bank notes. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.671 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย -- ภาษาถิ่น |
|
dc.subject |
พฤติกรรมการช่วยเหลือ |
|
dc.subject |
Thai language -- Dialects |
|
dc.subject |
Helping behavior |
|
dc.title |
ผลของการใช้ภาษาถิ่นของผู้ขอความช่วยเหลือและการสูญเสียของการให้ความช่วยเหลือต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือ |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of dialect of help seekers and cost of helping on helping behavior |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาสังคม |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Theeraporn.U@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2001.671 |
|