dc.contributor.advisor |
อารง สุทธาศาสน์ |
|
dc.contributor.author |
สรรค์สะคราญ เชี่ยวนาวิน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-30T10:32:09Z |
|
dc.date.available |
2020-03-30T10:32:09Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9740304508 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64548 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาหน้าที่ของวัฒนธรรมอาหารอิสลามที่มีต่อวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ เป็นการใช้แบบสอบถาม รวมทั้งการสัมภาษณ์ระดับลึกและการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมในชุมชน สำหรับกลุ่มประชากรที่อยู่ในชุมชนมัสยิดฮารูณ เขตบางรัก จังหวัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จะมีทั้งผู้นำศาสนา ผู้นำทั่วไปในชุมชน ผู้ประกบกิจการร้านอาหารมุสลิม และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะผู้บริโภคที่เป็นมุสลิมจำนวนทั้งสิ้น 70 คน สำหรับการวิเคราะห์และการแปลความข้อมูลนั้นใช้การตีความ โดยจะวิเคราะห์จากข้อมูลที่เก็บมาจากสนามวิจัยโดยตรงเป็นหลัก ผลการวิจัยพบว่า ศาสนาอิสลามีข้อกำหนดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ชัดเจน ละเอียด และเข้มงวด แต่ก็มีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะทำให้มุสลิมสามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข มุสลิมส่วนใหญ่มีความเคร่งครัดต่อข้อกำหนดในเรื่องการบริโภค และยิ่งมีความรู้ในเรื่องทางศาสนามากเท่าไร ก็จะยิ่งมีความเคร่งครัดในเรื่องการบริโภคอาหารมากเท่านั้น จุดมุ่งหมายหลักในการบริโภคอาหารของมุสลิมก็คือเพื่อต้องการให้เกิดผลดีต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ และจุดมุ่งหมายแฝงก็คือเพื่อให้เกิดผลดีในด้านความสามัคคีและความเป็นปึกแผ่นต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ และจุดมุ่งหมายแฝงก็คือเพื่อให้เกิดผลดีในด้านความสามัคคีและความเป็นปึกแผ่นของสังคมนอกจากนี้ ยังพบว่า รายละเอียดของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของมุสลิมมีผลต่อสังคมโดยรวมอย่างลึกซึ้ง ได้แก่ ความมีจิตสำนึกเคร่งครัดในศาสนา การรวมกลุ่มและดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างใกล้ชิดผูกพันและเหนียวแน่นการเรียกร้องให้รัฐบาลออกกฎหมายและระเบียบทางสังคมต่าง ๆ เพื่อสนองความต้องการของมุสลิมดังกล่าว ซึ่งจะทำให้เกิดความพึงพอใจในการได้รับการเอาใจใส่จากรัฐบาล อันจะนำมาซึ่งความเป็นปึกแผ่นของสังคม ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่มีข้อกำหนดความเชื่อและการปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของมุสลิมในทุก ๆด้าน รวมทั้งการบริโภคอาหารที่มีข้อกำหนดที่ชัดเจน ละเอียดและเข้มงวด ซึ่งมีผลต่อความเชื่อ จิตสำนึก ความเคร่งครัด ความรู้สึกรับผิดชอบในระเบียบแบบแผนของสังคมและความเป็นปึกแผ่นของสังคมมุสลิมและสังคมโดยรวม |
|
dc.description.abstractalternative |
The intention of this research is to study the functions of the Islamic food culture for Thai Muslim’s way of life. The sample of this research is drawn from the population of Haroon Mosque community, Bang-Rug district, the province of Bangkok, with the size of 70 by questionnaire and 20 by in depth interview. The result of this research was found that, Islam has the definite, refine and strict food consumption; but it is sufficiently flexible for Muslim’s way of life. Muslims are strict on food consumption regulations. The more they are educated in the religion, the more they are strict on food consumption. The manifest function of the Islamic food consumption is to made good health and mind. The latent function is to strengthen social solidarity. It was also found that derails of the Islamic food consumption behavior deeply affects the society in general : strict consciousness to the religion, earning of living in a close community group, claim of laws and legislation to the government for Muslim’s needs, and satisfaction of governmental attention consequently the strengthen of social solidarity in general. The conclusion of this research was that, Islam is a religion that includes regulations concerning beliefs and ritual performances which cover Muslim’s way of life. Together with the culture of the Islamic food consumption comprising the definite, refine and strict regulations, it influences over solemn beliefs and profound consciousness towards the religion, responsibilities in social pattern and order, Islamic community, and national and international unity. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.273 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
มุสลิม--ไทย--ความเป็นอยู่และประเพณี |
en_US |
dc.subject |
ศาสนาอิสลาม--ไทย |
en_US |
dc.subject |
ชาวไทยมุสลิม--ความเป็นอยู่และประเพณี |
en_US |
dc.subject |
อาหารฮาลาล--ไทย |
en_US |
dc.subject |
Muslims--Thailand -- Social life and customs |
en_US |
dc.subject |
Islam--Thailand |
en_US |
dc.subject |
Halal food--Thailand |
en_US |
dc.title |
หน้าที่ของวัฒนธรรมอาหารอิสลามที่มีต่อวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิม |
en_US |
dc.title.alternative |
Functions of the Islamic food culture for Thai Muslim's way of life |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
มานุษยวิทยามหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
มานุษยวิทยา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2001.273 |
|