dc.contributor.advisor |
สุพัฒน์ เจริญพรวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
ธนภัทร จรูญเกียรติคุณ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-11T03:53:30Z |
|
dc.date.available |
2020-04-11T03:53:30Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65251 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
การเสริมฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชร่วมกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ จัดเป็นการรักษาทางเลือกที่ใช้ในการรักษาการติดเชื้อที่ดื้อยาปฏิชีวนะ โดยในการศึกษานี้ได้ศึกษา เกี่ยวกับฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพร 9 ชนิด รวมถึงการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพร ร่วมกับยาปฏิชีวนะสเตรปโทมัยซิน, กานามัยซิน, แอมพิซิลลิน และซิโพรฟลอกซาซิน ในการยับยั้ง การเจริญต่อแบคทีเรียแกรมบวก 2 สายพันธุ์ ได้แก่ Listeria monocytogenes MSCU0253 และ Staphylococcus aureus MSCU0353 โดยขมิ้นชันที่สกัดด้วยอะซีโตนมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญ ของ L. monocytogenes MSCU0253 มากที่สุด โดยมีค่าความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดที่สามารถยับยั้งการ เจริญได้ (MIC) อยู่ที่ 6.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และมีค่าความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดที่สามารถฆ่าเชื้อได้อยู่ ที่ 12.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และขมิ้นชันที่สกัดด้วยเมทานอลมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญต่อ S. aureus MSCU0353 มากที่สุด โดยมีความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญและฆ่าเชื้อได้ อยู่ที่ 0.78 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร จากนั้นศึกษาการเสริมฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชร่วมกับยาปฏิชีวนะ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อทดสอบทั้ง 2 สายพันธุ์พบว่าสารสกัดจากซัวยิ้ง และสีเสียดเทศด้วย อะซีโตนมีการเสริมฤทธิ์ร่วมกับยาปฏิชีวนะสเตรปโทมัยซินและกานามัยซินในการยับยั้งการเจริญของ L. monocytogenes MSCU0253 ได้มากที่สุดโดยมีค่า FICI อยู่ที่ 0.38 และสารสกัดจากซังตุ๊กด้วย เมทานอลมีการเสริมฤทธิ์ร่วมกับยาสเตรปโทมัยซินในการยับยั้งการเจริญต่อ S. aureus MSCU0353 ได้มากที่สุด โดยมีค่า FICI อยู่ที่ 0.19 จากข้อมูลที่ได้นี้ทำให้สามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานของการ รักษาการติดเชื้อที่ยาปฏิชีวนะได้ในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The synergism of antimicrobial activity between plant extracts and antibiotics is an alternative treatment to use for the multidrug-resistant pathogen. In the present study, we determined the antimicrobial activity of nine medicinal plant extracts and evaluate of the synergistic effect of medicinal plant extracts with streptomycin, kanamycin, ampicillin and ciprofloxacin against two Gram positive bacteria i.e. Listeria monocytogenes MSCU0253 and Staphylococcus aureus MSCU0353. The acetonic extract of turmeric showed highest antimicrobial activity against L. monocytogenes MSCU0253. MIC and MBC obtained from acetonic extract of turmeric concentration were 6.25 and 12.5 mg/ ml, respectively. The methanolic extract of turmeric showed the highest antimicrobial activity against S. aureus MSCU0353. Both MIC and MBC were 0.78 mg/ml for methanolic extract of turmeric. The study of synergistic effect between plant extracts and antibiotics showed that the acetonic extract of Sha ren (Amomum villosum) and gambir ( Uncaria gambir) had highest synergistic activity with streptomycin against L. monocytogenes MSCU0253. FICI of the acetonic extract of Sha ren and gambir with streptomycin was 0.38 and the methanolic extract of Cang zhu ( Atractylodes lancea) had highest synergistic activity with streptomycin to against S. aureus MSCU0353. FICI of methanolic extract of Cang zhu with streptomycin was 0.19. These results may provide the basis for the development of a new therapy against multidrug-resistant pathogen in the future. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การเสริมฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชร่วมกับยาปฏิชีวนะในการยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวก |
en_US |
dc.title.alternative |
Synergistic antimicrobial activity of plant extracts and antibiotics against gram positive bacteria |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Supat.C@Chula.ac.th |
|