dc.contributor.advisor |
สุจิตรา สื่อประสาร |
|
dc.contributor.author |
กชพร สุภสิริอรรจน์ |
|
dc.contributor.author |
ธฤษวรรณ ชมเฟื่องแก้ว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-21T06:38:29Z |
|
dc.date.available |
2020-04-21T06:38:29Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65420 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
สีของชาไทยในปัจจุบันมีความหลากหลายและต่างกันในแต่ละผู้ผลิต ซึ่งสีส่งผลต่อการยอมรับและความคาดหวังในรสชาติ โครงการนี้ทดสอบหาช่วงสีที่ผู้สังเกตยอมรับได้ว่าเป็นสีของชาไทย และความสัมพันธ์ระหว่างสีกับความคาดหวังในรสชาติของชาไทย สร้างตัวอย่างสีน้ำชาไทยจำนวน 15 ตัวอย่าง ที่ครอบคลุมสีของชาไทยที่สำรวจจากท้องตลาด ทำการทดลองดูสีภายใต้สภาวะ D65/10 ด้วยผู้สังเกตจำนวน 30 คนที่มีการมองเห็นสีปกติ ให้ผู้สังเกตนั่งห่างจากตัวอย่างสีเป็นระยะทาง 34 นิ้ว และตอบแบบสอบถามการยอมรับความพึงพอใจ และความคาดหวังในรสชาติ 3 รสชาติ คือความหวาน ความขม และความกลมกล่อม โดยให้คะแนนเป็น 5 ระดับตั้งแต่ 1 (น้อยที่สุด) ถึง 5 (มากที่สุด) ซึ่งมี 3 เป็นเกณฑ์แบ่งระหว่างความรู้สึกบวก (เช่น ยอมรับ) และลบ (เช่น ไม่ยอมรับ) ผลทดลองพบว่า สีสันที่ยอมรับได้ของชาไทยคือ สีส้มแดง ที่มีความสว่างปานกลางถึงสูงและมีความอิ่มตัวสีต่ำถึงปานกลาง ความหวานมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับค่าความเป็นสีแดง (a*) ความขมมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้ามกับค่าความสว่าง (L*) และผู้สังเกตคาดหวังรสชาติกลมกล่อมกับชาไทยที่มีรสชาติทั้งหวานและขม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The colour of Thai tea varies from manufacturer to manufacture. However, colour affects the acceptability of Thai Tea and the expectation in taste. This study aimed to find the acceptable colour range of Thai tea and the correlations between colours and expectation in taste. Fifteen Thai tea colour samples were prepared to cover the colour range of Thai tea products available in the market. Visual experiments were conducted under a D65/10 condition by 30 observers with normal colour vision. The observers sat 34 inches away from the samples. They were asked to rate the level of acceptability, preference and expectation in taste including three flavors: sweetness, bitterness and mellowness. The rating scale included 5 levels, ranging from 1 (the least) to 5 (the most), where 3 represented the midpoint between positive (e.g. acceptable) and negative (e.g. unacceptable). It was found that the acceptable hue of Thai tea was reddish orange, with moderate to high lightness and low to moderate chroma. Sweetness had a positive correlation with redness (a*). Bitterness inversely correlated with lightness (L*). Moreover, observers expected mellow taste of Thai tea to have both sweet and bitter tastes. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
ช่วงการยอมรับสีของชาไทยและความคาดหวังในรสชาติ |
en_US |
dc.title.alternative |
Acceptability colour tolerance of Thai tea and expectation in taste |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Suchitra.S@Chula.ac.th |
|