DSpace Repository

การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน

Show simple item record

dc.contributor.advisor บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร
dc.contributor.author ปวีณ์นุช คำเทศ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-22T07:49:45Z
dc.date.available 2020-04-22T07:49:45Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741732899
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65451
dc.description วิทยานิพนธ์(พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารเพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาการพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน โดยใช้ เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 ท่าน ทำการคัดเลือกตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไปและเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกับของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 ท่าน (Md ≥3.50, IR < 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งสิ้น 1 3 0 วัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ องค์ประกอบของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ประกอบด้วยตัวชี้วัดดังนี้ 1. ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ประกอบด้วยตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด 2. ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ประกอบด้วยตัวชี้วัด 8 ตัวชี้วัด 3. ด้านแบบแผนทางความคิด ประกอบด้วยตัวชี้วัด 8 ตัวชี้วัด 4. ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ประกอบด้วยตัวชี้วัด 4 ตัวชี้วัด 5. ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัวชี้วัด 6. ด้านเทคโนโลยีที่นำมาใช้ ประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัวชวัด 7. ด้านบรรยากาศองค์กร ประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัวชี้วัด 8. ด้านการบริหารองค์กร ประกอบด้วยตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to develop the learning organization indicators of nursing department for community hospitals. Two main steps were conducted as follows: 1) Literature review was analyzed for conceptual research framework 2) The Learning organization indicators of nursing department for community hospitals were developed by using EDFR technique. Fifteen experts participated in the second step. The indicators were selected based on the following criteria : The median of appropriateness and practicality ≥ 3.50, interquartile range < 1.50. Duration for collecting data in second steps lasted 130 days. Research finding were as follows: The learning organization indicators of nursing department for community hospitals composed of 8 components. The components were consisted of indicators as follows: 1. Team learning consisted of 7 indicators 2. Personal mastery consisted of 8 indicators 3. Mental model consisted of 8 indicators 4. Shared vision consisted of 4 indicators 5. System thinking consisted of 6 indicators 6. Technology application consisted of 6 indicators 7. Organization atmosphere consisted of 6 indicators 8. Organization management consisted of 7 indicators
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ประสิทธิผลองค์การ en_US
dc.subject โรงพยาบาลชุมชน en_US
dc.subject Organizational effectiveness en_US
dc.subject Public hospitals en_US
dc.title การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน en_US
dc.title.alternative Development of learning organization indicators of nursing department for community hospitals en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การบริหารการพยาบาล en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Boonjai.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record