DSpace Repository

ลักษณะชั้นตะกอนดินในอ่าวไทย โดยเทคนิคเอกซเรย์เรดิโอกราฟี

Show simple item record

dc.contributor.advisor เพ็ญใจ สมพงษ์ชัยกุล
dc.contributor.advisor สุจารี บุรีกุล
dc.contributor.author พิลาศรัช สิงห์อินทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-23T07:53:52Z
dc.date.available 2020-04-23T07:53:52Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65476
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 en_US
dc.description.abstract แท่งตะกอนดิน 20 แท่ง จากอ่าวไทย ซึ่งเก็บตัวอย่างโดยการกดท่อ PVC ลงไปใน box-corer และปิด ฝาขนส่งแบบตั้งตรง นำมาศึกษาลักษณะชั้นตะกอนดินด้วยการถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ ซึ่งเป็นเทคนิคการ วิเคราะห์ที่รวดเร็วและไม่ทำลายตัวอย่าง นำภาพเอกซเรย์มาประมวลผลภาพเพื่อหาสัดส่วนองค์ประกอบ ขนาดอนุภาคของตะกอนดินจากค่าความแตกต่างของระดับสีของขนาดอนุภาคตะกอนในภาพเอกซเรย์ และ ศึกษาเปรียบเทียบผลกับการวิเคราะห์องค์ประกอบของขนาดอนุภาคตะกอนดินในตัวอย่างจากระดับความลึก ต่าง ๆ ด้วยวิธีการร่อนเปียกและตกตะกอน ผลการศึกษา ภาพเอกซเรย์แท่งตะกอนดินที่ได้ แสดงลักษณะการตกสะสมของตะกอนแบบสม่ำเสมอ และในแต่ละชั้นความลึกของแท่งตะกอนดินมีลักษณะตะกอนคล้ายคลึงกัน และในบางสถานีพบเปลือกหอย แทรกตัวอยู่ ในสถานีที่ 14 22 29 และ 35 ที่ทำการวิเคราะห์ขนาดอนุภาคตะกอนด้วยวิธีร่อนเปียกและ ตกตะกอน ลักษณะของดินตะกอนส่วนใหญ่เป็น “ทรายแป้งปนดินเหนียว (clayey silt)” และ “ทรายแป้งปน ทราย (sandy silt)” โดยชนิดของขนาดอนุภาคส่วนใหญ่เป็น “ทรายแป้ง” สำหรับการหาสัดส่วนองค์ประกอบ ขนาดของตะกอนดินจากภาพถ่ายเอกซเรย์ การหาความแตกต่างของระดับสีของขนาดอนุภาคบนภาพถ่าย เอกซเรย์ให้ค่าความแม่นยำเฉพาะขนาดอนุภาคตะกอนที่เป็นชนิดเด่น เนื่องจากตะกอนดินในอ่าวไทยส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วยตะกอนดินขนาดละเอียด (เล็กกว่า 63 ไมครอน) และเมื่อเปรียบเทียบกับค่าในการวิเคราะห์ พบว่า ร้อยละของทรายแป้งที่คำนวณจากภาพเอกซเรย์มีค่าสูงกว่า และมีค่าแตกต่างจากค่าวิเคราะห์ด้วยวิธี ร่อนเปียกและตกตะกอนอยู่ในช่วงร้อยละ 10 - 20 โดยค่าข้อมูลที่มีความแตกต่างน้อยกว่าร้อยละ 30 คิดเป็น ร้อยละ 70 ของข้อมูลทั้งหมด สำหรับการหาขนาดอนุภาคตะกอนโดยวิธีถ่ายภาพและประมวลผลภาพถ่าย เอกซเรย์จากระดับสี เพื่อการศึกษาชั้นตะกอนดินในอ่าวไทย จำเป็นที่จะต้องมีการควบคุมคุณภาพการถ่ายภาพ และพัฒนาวิธีแยกระดับสีของอนุภาคต่างชนิดกันให้ได้ระดับสีที่เหมาะสมต่อไป en_US
dc.description.abstractalternative 20 sediment cores collected from the Gulf of Thailand by inserted PVC pipe in the box-corer, capped and upright transported. Sediment layer characteristics study was performed by X-ray radiography; a fast and non-destructive sample technique. The X-ray radiographs of the sediment cores were analyzed using image processing to differentiate the color level therein and determine for grain size proportion and composition. As the different grain size affects the gray scale level in the X-ray radiographs. Grain size composition in different sediment layers were then compared with result from a classical wet-sieving and sedimentation method. X-ray radiographs revealed the similar sedimentation pattern thorough the sediment core. Size composition of sediment grain in different layer of the cores were fairly akin with the insertion of carbonate shells in some stations. At station 14, 22, 29 and 35, where wetsieving and sedimentation analysis was performed, sediment was mostly characterized as clayey silt, sandy silt and “silt” was a dominant grain. The size proportion study using the X-ray image and image processing gived only specific accuracy on the dominant particle size. As the sediment in the Gulf of Thailand contained mostly fine grain (less than 63 micrometers). In comparison with the actual measurement, X-ray imaging results were deviated from real value in a range of 10 - 20%, and accounted for 70% of all analyzed data. For the further usage, quality control of X-ray radiographs and developing the color scale differentiation method for different grains were necessary to achieve the appropriate color level. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title ลักษณะชั้นตะกอนดินในอ่าวไทย โดยเทคนิคเอกซเรย์เรดิโอกราฟี en_US
dc.title.alternative Sediment layer characteristics in the Gulf of Thailand by X-ray radiography en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Penjai.S@Chula.ac.th
dc.email.advisor Sujaree.B@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record