dc.contributor.advisor |
สุจารี บุรีกุล |
|
dc.contributor.advisor |
เพ็ญใจ สมพงษ์ชัยกุล |
|
dc.contributor.author |
ชนากานต์ สุพรรณทอง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-01T05:48:26Z |
|
dc.date.available |
2020-05-01T05:48:26Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65617 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
เก็บแท่งดินตะกอนจากอ่าวไทย 4 สถานี ประกอบด้วยตัวอย่างจากพื้นที่ใกล้ชายฝั่ง 2 สถานี และ จากกลางอ่าว 2 สถานี เพื่อวิเคราะห์ปริมาณปรอทรวมตามระดับความลึก เก็บตัวอย่างภายใต้โครงการ “The Collaborative Research Survey on Marine Fisheries Resources and Marine Environment in the Gulf of Thailand” โดย เรือสำรวจ SEAFDEC-2 ในช่วง 16 สิงหาคม ถึง 11 ตุลาคม 2561 นำดิน ตะกอนภายในแท่งจากแต่ละชั้นความลึกมาทำให้แห้งแบบเยือกแข็งและบดให้เป็นเนื้อเดียวย่อยสกัดด้วย สารละลายอควารีเจียที่อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส ปรอทอินทรีย์ในสารละลายจะถูกออกซิไดซ์ และก่อน ทำการตรวจวัดปริมาณปรอทโดยเทคนิคอะตอมมิคแอบชอบชันแบบไอเย็น ปรอททุกรูปในสารละลายจะถูก เปลี่ยนเป็นไอปรอท จากนั้นไอปรอทจะถูกพาเข้าสู่เครื่อง Perkin Elmer FIMs-400 Flow – Injection Mercury ด้วยก๊าซอาร์กอน ผลการศึกษาพบว่า แคลเซียมคาร์บอเนตมีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 7.8 ถึง 23.0 สถานี 29 มีคาร์บอเนตสูงสุดเมื่อเทียบกับอีก 3 แท่ง และค่าปริมาณปรอทรวมหลังปรับฐานด้วยคาร์บอเนต มีค่าอยู่ในช่วง 18.6 ถึง 37.9 ng/g dw จากการวิเคราะห์ค่าดัชนีการสะสมเชิงธรณี (Igeo) ของปรอท บ่งชี้ว่า ตัวอย่างดินตะกอนจากอ่าวไทยยังไม่อยู่ในภาวะปนเปื้อนจากปรอท อย่างไรก็ดี ในชั้นตะกอนแต่ละชั้นของ แท่งตะกอนเดียวกัน ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณปรอทในดินตะกอน กับปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ และกับปริมาณขนาดอนุภาคดินเหนียว ดังนั้นอาจบ่งบอกว่าปรอทที่ปนเปื้อนเข้ามานั้นมาจากกิจกรรมของมนุษย์ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Four sediment cores from the Gulf of Thailand, 2 cores near the coast and 2 cores in the middle of the gulf, have been analyzed for total mercury (T-Hg). The core samples were collected during 16 August to 11 October 2018 by M.V. SEAFDEC-2, under the project entitled “The Collaborative Research Survey on Marine Fisheries Resources and Marine Environment in the Gulf of Thailand”. Sediments from different depth of the cores were freeze-dried and homogenized. Then, digested by aqua regia at 95ºC. Organic mercury in the solution was oxidized to inorganic mercury. Immediately prior to determine mercury concentration by cold vapor atomic absorption spectroscopy, all forms of mercury in the solution were changed to elemental mercury, Hg0. The vapor of Hg0 was brought into Perkin Elmer FIMs-400 Flow–Injection Mercury Analyzer using argon as a carrier gas. The result revealed that calcium carbonate contents in sediments varied from 7.84% to 23.01%. Highest carbonate content comparing to the other three cores was the core from station 29. Total mercury (T-Hg) concentration ranged from 18.6 to 37.9 ng/g dry weight (carbonate free basis). According to geoaccumulation index (Igeo), T-Hg enrichment in the sediment samples from the Gulf of Thailand was in uncontaminated status. The correlation of T-Hg accumulation in the sediment and the percentage of clay size particles and the percentage of organic carbon accumulation therein were unclear in the same core. As such it should imply that T-Hg in the sediment might be contaminated from anthropogenic activities. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การเปลี่ยนแปลงตามเวลาของปริมาณปรอทในชั้นดินตะกอนบริเวณกลางอ่าวไทย และชายฝั่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และชุมพร |
en_US |
dc.title.alternative |
Temporal distribution of mercury in sediment core in the central Gulf of Thailand and the Coast of Prachuap Khiri Khan and Chumphon |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
sujaree.b@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Penjai.S@Chula.ac.th |
|